ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิลเลียม เชกสเปียร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
idk
บรรทัด 30:
'''วิลเลียม เชกสเปียร์''' ({{lang-en|William Shakespeare}}; รับศีล 26 เมษายน ค.ศ. 1564 - 23 เมษายน ค.ศ. 1616<ref>เป็นวันที่ตาม[[ปฏิทินจูเลียน]] ซึ่งใช้อยู่ในประเทศอังกฤษในช่วงที่เชกสเปียร์มีชีวิต หากนับตาม[[ปฏิทินเกรกอเรียน]]ซึ่งนำมาใช้ในกลุ่มประเทศคาทอลิกเมื่อปี ค.ศ. 1582 เชกสเปียร์เสียชีวิตเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม</ref>) เป็น[[กวี]]และ[[นักเขียนบทละคร]]ชาวอังกฤษ ได้รับยกย่องทั่วไปว่าเป็นนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ของอังกฤษและของโลก<ref>สตีเฟน กรีนแบลทท์ (2005). ''Will in the World: How Shakespeare Became Shakespeare''. ลอนดอน: พิมลิโค, 11. ISBN 0-7126-0098-1.<br />
• เดวิด เบวิงตัน (2002) ''Shakespeare'', 1–3. ออกซฟอร์ด: แบล็คเวลล์. ISBN 0-631-22719-9.<br />
• สแตนลี่ย์ เวลส์ (1997). ''Shakespeare: A Life in Drama''. นิวยอร์ก: ดับเบิลยู. ดับเบิลยู. นอร์ตัน, 399. ISBN 0-393-31562-2.</ref> มักเรียกขานกันว่าเขาเป็นกวีแห่งชาติของอังกฤษ และ "Bard of Avon" (กวีแห่ง[[แม่น้ำเอวอน|เอวอน]]) งานเขียนของเขาที่ยังหลงเหลืออยู่ถึงปัจจุบัน ประกอบด้วย[[บทละคร]] 38 เรื่อง กวีนิพนธ์แบบ[[ซอนเน็ต]] 154 เรื่อง กวีนิพนธ์อย่างยาว 2ล้าน เรื่อง และบทกวีแบบอื่น ๆ อีกหลายชุด บทละครของเขาได้รับการแปลออกไปเป็นภาษาต่าง ๆ มากมาย และเป็นที่นิยมนำมาแสดงมากที่สุดในบรรดาบทละครทั้งหมด<ref>ลีออน แฮโรลด์ เครก (2003). ''Of Philosophers and Kings: Political Philosophy in Shakespeare's "Macbeth" and "King Lear"''. โตรอนโต: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยโตรอนโต, 3. ISBN 0-8020-8605-5.</ref> jose snell
 
เชกสเปียร์เกิดและเติบโตที่เมืองสแตรทฟอร์ด ริมแม่น้ำเอวอน เมื่ออายุ 18ปี เขาสมรสกับแอนน์ มีบุตรด้วยกัน 3 คนคือ ซูซานน่า และฝาแฝด แฮมเน็ตกับจูดิธ ระหว่างช่วงปี ค.ศ. 1585- 1592 เขาประสบความสำเร็จในการเป็นนักแสดงในกรุงเทพรวมถึงการเป็นนักเขียน ได้ร่วมเป็นหุ้นส่วนใน[[คณะละครลอร์ดเชมเบอร์เลน]] ''(Lord Chamberlain's Men)'' ซึ่งในภายหลังมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในชื่อ ''King's Men'' เชกสเปียร์เกษียณตัวเองกลับไปยังสแตรทฟอร์ดในราวปี ค.ศ. 1613 และเสียชีวิตในอีกสามปีต่อมา ไม่ค่อยมีบันทึกใดเกี่ยวกับชีวิตส่วนตัวของเชกสเปียร์มากนัก จึงมีทฤษฎีมากมายที่คาดกันไปต่าง ๆ นานา เกี่ยวกับชีวิตส่วนตัว ความเชื่อทางศาสนา และแรงบันดาลใจในงานเขียนของเขา<ref>เจมส์ ชาปิโร (2005). 1599: ''A Year in the Life of William Shakespeare''. ลอนดอน: เฟเบอร์แอนด์เฟเบอร์, xvii–xviii. ISBN 0-571-21480-0.<br />
บรรทัด 85:
ษ 1590<ref name="ackroyd" /> นั่นคือ ''[[ฝัน ณ คืนกลางฤดูร้อน]] (A Midsummer Night's Dream)'' อันเป็นบทละครที่ผสมผสานระหว่างเรื่องราวความรัก เวทมนตร์ของนางฟ้า และฉากตลกขำขัน บทละครเรื่องต่อมาคือ ''[[เวนิสวาณิช]]'' ก็เป็นละครชวนหัวที่เกี่ยวกับความรัก มีตัวละครชาวยิวผู้เป็นนายหน้าเงินกู้จอมงก ไชล็อก อันสะท้อนภาพของผู้คนในยุคเอลิซาเบธ นอกจากนี้ยังมีบทละครชวนหัวที่เล่นถ้อยคำอย่างชาญฉลาด ''[[Much Ado About Nothing]]'', ฉากอันงดงามมีเสน่ห์ใน ''As You Like It'' ตลอดจนเรื่องราวรื่นเริงใน ''[[ราตรีที่สิบสอง]] (Twelfth Night)'' เหล่านี้ล้วนเป็นบทละครสุขนาฏกรรมอันมีชื่อเสียงของเชกสเปียร์<ref name="ackroyd" /> หลังจากงานกวีเรื่อง ''[[ริชาร์ดที่ 2]]'' เชกสเปียร์นำเสนองานเขียนร้อยแก้วเชิงขำขันกับละครอิงประวัติศาสตร์ในช่วงปลายทศวรรษ 1590 คือเรื่อง ''[[พระเจ้าเฮนรีที่ 4 (ละคร)|พระเจ้าเฮนรีที่ 4]]'' และ ''[[พระเจ้าเฮนรีที่ 5 (ละคร)|พระเจ้าเฮนรีที่ 5]]'' ตัวละครของเขามีความซับซ้อนและละเอียดอ่อนมากขึ้น โดยที่ต้องสลับไปมาระหว่างความจริงจังกับความตลก และยังสลับไปมาระหว่างการบรรยายแบบร้อยแก้วกับร้อยกรอง นับเป็นผลสำเร็จในการนำเสนอเรื่องราวด้วยกรรมวิธีต่าง ๆ ในงานเขียนของเขา<ref>ไบรอัน กิบบอนส์ (1993). ''Shakespeare and Multiplicity''. เคมบริดจ์: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์, 1. ISBN 0-521-44406-3.</ref><ref name="ackroyd" /> ยุคนี้ของเชกสเปียร์เริ่มต้นและจบลงด้วยงานเขียนโศกนาฏกรรมสองเรื่อง คือ ''[[โรมิโอกับจูเลียต]]'' ละครโศกนาฏกรรมความรักที่โด่งดังมีชื่อเสียงที่สุด และ ''[[จูเลียส ซีซาร์ (ละคร)|จูเลียส ซีซาร์]]'' ซึ่งแต่งขึ้นจากผลงานแปลของเซอร์โทมัส นอร์ธ เรื่อง ''Parallel Lives'' ในปี 1579 นับเป็นการนำเสนอรูปแบบละครชีวิตแนวใหม่<ref name="ackroyd" />
 
[[ไฟล์:Henry_Fuseli_rendering_of_Hamlet_and_his_fatherHenry Fuseli rendering of Hamlet and his father's_Ghosts Ghost.JPG|thumb|left|ภาพวาด[[แฮมเล็ต]]กับปีศาจของบิดา วาดโดย[[อองรี ฟูเซลิ]] ราวปี ค.ศ. 1780-5]]
ช่วงที่เรียกว่า "ยุคโศก" ของเชกสเปียร์อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1600 - 1608 เขาเขียนทั้งบทละครโศกนาฏกรรมรวมถึงบทละครที่เรียกกันว่า "problem plays" (บทละครกังขา : กล่าวคือไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นละครตลกหรือละครเศร้า อาจเรียกว่าเป็น "ตลกร้าย") ได้แก่ ''Measure for Measure'', ''[[ทรอยลัสกับเครสสิดา]]'', และ ''All's Well That Ends Well''<ref name="bradley">เอ. ซี. แบรดลี่ย์ (1991 edition). ''Shakespearean Tragedy: Lectures on Hamlet, Othello, King Lear and Macbeth''. ลอนดอน: เพนกวิน, 85. ISBN 0-14-053019-3.</ref><ref>Muir, Kenneth (2005). ''Shakespeare's Tragic Sequence''. ลอนดอน; นิวยอร์ก: Routledge, 12–16. ISBN 0-415-35325-4.</ref> นักวิจารณ์หลายคนเห็นว่า ละครโศกนาฏกรรมอันยิ่งใหญ่ของเชกสเปียร์เป็นตัวแสดงถึงศิลปะอันสูงสุดในตัวเขา วีรบุรุษ [[แฮมเล็ต]] เป็นตัวละครของเชกสเปียร์ที่ถูกกล่าวขานถึงมากที่สุดตัวหนึ่ง โดยเฉพาะบทรำพันของตัวละครที่โด่งดังมาก คือ "To be or not to be; that is the question."<ref name="bradley" /> แฮมเล็ตเป็นตัวละครที่มีปัญหาภายในใจมาก และความลังเลของเขาเป็นอันตรายจนถึงแก่ชีวิต ทว่าตัวละครเอกในโศกนาฏกรรมเรื่องอื่นที่ตามมา คือ ''Othello'' และ ''King Lear'' กลับได้รับผลร้ายจากความรีบเร่งด่วนตัดสิน<ref name="bradley" /> โครงเรื่องโศกของเชกสเปียร์มักเกิดเหตุการณ์ที่ผิดพลาดอย่างไม่น่าเกิดขึ้น อันนำมาซึ่งการตัดสินใจที่ผิดพลาดและทำลายชีวิตของตัวละครเอกกับคนรัก นักวิจารณ์คนหนึ่งคือ แฟรงค์ เคอร์โมด (Frank Kermode) กล่าวว่า "บทละครไม่เปิดโอกาสให้ตัวละครหรือผู้ชมสามารถหลุดพ้นจากความโหดร้ายได้เลย"<ref name="bradley" /><ref name="ackroyd" /> ในบทละครเรื่อง ''[[แมคเบธ]]'' ซึ่งเป็นบทละครที่สั้นที่สุดของเชกสเปียร์ ความทะเยอทะยานไม่รู้จบยั่วให้แมคเบธกับภริยา คือเลดี้แมคเบธ ปลงพระชนม์กษัตริย์ผู้ชอบธรรมและชิงบัลลังก์มา ความผิดนี้ทำลายคนทั้งสองในเวลาต่อมา เชกสเปียร์ได้ประพันธ์บทกวีนิพนธ์อันไพเราะลงในงานบทละครโศกชิ้นสำคัญในช่วงหลัง ๆ คือ ''Antony and Cleopatra'' กับ ''Coriolanus'' ซึ่งถือว่าเป็นบทกวีที่ดีที่สุด [[ที.เอส.อีเลียต]] กวีและนักวิจารณ์ ยังยกย่องว่าเป็นบทละครโศกที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดของเชกสเปียร์อีกด้วย<ref name="ackroyd" /><ref>ที.เอส.อีเลียต (1934). ''Elizabethan Essays''. ลอนดอน: เฟเบอร์แอนด์เฟเบอร์, 59. OCLC 9738219.</ref>