ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไบโอมิเมติกส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PeenutK (คุย | ส่วนร่วม)
ไบโอมิเมติกส์
 
PeenutK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
 
==== เกล็ดฉลาม ====
ผิวของฉลาม (Shark skin) ถูกปกคลุมไปด้วยเกล็ดที่เรียกว่า พลาคอยด์ (Placoid scale) มีลักษณะเฉพาะที่คล้ายกับฟันซี่เล็ก ๆ เรียงกันตามแนวเฉียง พลาคอยด์ประกอบไปด้วยโครงสร้าง 3 ส่วน ได้แก่ basal plate, dentine, vitrodentine ซึ่งพลาคอยด์จะทำหน้าในช่วยลดแรงต้านทานที่เกิดจากความดัน หรือแรงเสียดสี นอกจากนี้ยังช่วยทำให้เกิดกระแสน้ำวนเล็ก ๆ ที่จะช่วยให้ฉลามสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้นจึงได้มีการนำเกล็ดของฉลามไปเป็นต้นแบบในการออกแบบชุดว่ายน้ำระดับโลก <ref>มาริสา คุณธนวงศ์.  (2552).  จากฉลามแห้งท้องทะเลสู่ฉลามหมุ่นแห่งโอลิมปิก. เทคโนโลยีวัสดุ, 2552(55), 8-12. เข้าถึงได้จาก: <nowiki>https://www2.mtec.or.th/th/e-magazine/countfavor_article.asp</nowiki> (วันที่สืบค้น 3 ตุลาคม 2562)</ref>
[[ไฟล์:พลาคอยด์.png|thumb|ลักษณะการจัดเรียงตัวของพลาคอยด์บนผิวหนังฉลาม]]
ผิวของฉลาม (Shark skin) ถูกปกคลุมไปด้วยเกล็ดที่เรียกว่า พลาคอยด์ (Placoid scale) มีลักษณะเฉพาะที่คล้ายกับฟันซี่เล็ก ๆ เรียงกันตามแนวเฉียง พลาคอยด์ประกอบไปด้วยโครงสร้าง 3 ส่วน ได้แก่ basal plate, dentine, vitrodentine ซึ่งพลาคอยด์จะทำหน้าในช่วยลดแรงต้านทานที่เกิดจากความดัน หรือแรงเสียดสี นอกจากนี้ยังช่วยทำให้เกิดกระแสน้ำวนเล็ก ๆ ที่จะช่วยให้ฉลามสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้นจึงได้มีการนำเกล็ดของฉลามไปเป็นต้นแบบในการออกแบบชุดว่ายน้ำระดับโลก <ref>มาริสา คุณธนวงศ์.  (2552).  จากฉลามแห้งท้องทะเลสู่ฉลามหมุ่นแห่งโอลิมปิก. เทคโนโลยีวัสดุ, 2552(55), 8-12. เข้าถึงได้จาก: <nowiki>https://www2.mtec.or.th/th/e-magazine/countfavor_article.asp</nowiki> (วันที่สืบค้น 3 ตุลาคม 2562)</ref>
 
<br />
 
เส้น 31 ⟶ 32:
 
==== ใบบัว ====
ใบบัว (Lotus leaf) โครงสร้างลักษณะพื้นผิวเป็นปุ่มเรียกว่า พาพิลลา (Papilla) ภายในปุ่มนั้นมีขนขนาดเล็กในระดับนาโน ส่งผลให้เมื่อมีน้ำมาเกาะบนใบบัวมีลักษณะที่ค่อนข้างเป็นทรงกลม ไม่ติดกับพื้นผิวสามารถกลิ้งไปมาได้ พื้นผิวสามารถทำความสะอาดตัวเองได้ (Self-cleaning) เนื่องจากแรงระหว่างของเหลวและสิ่งสกปรกทำให้การไหลของของเหลวได้นำสิ่งสกปรกบนพื้นผิวออกไปด้วย จึงมีการพัฒนาวัสดุที่สามารถทำความสะอาดตนเองได้ โดยอาศัยหลักการไม่ชอบนำ้แบบยิ่งยวด (superhydrophobic) จากการเลียนแบบพื้นผิวใบบัว
[[ไฟล์:ใบบัวว.png|thumb|ใบบัว]]
ใบบัว (Lotus leaf) โครงสร้างลักษณะพื้นผิวเป็นปุ่มเรียกว่า พาพิลลา (Papilla) ภายในปุ่มนั้นมีขนขนาดเล็กในระดับนาโน ส่งผลให้เมื่อมีน้ำมาเกาะบนใบบัวมีลักษณะที่ค่อนข้างเป็นทรงกลม ไม่ติดกับพื้นผิวสามารถกลิ้งไปมาได้ พื้นผิวสามารถทำความสะอาดตัวเองได้ (Self-cleaning) เนื่องจากแรงระหว่างของเหลวและสิ่งสกปรกทำให้การไหลของของเหลวได้นำสิ่งสกปรกบนพื้นผิวออกไปด้วย จึงมีการพัฒนาวัสดุที่สามารถทำความสะอาดตนเองได้ โดยอาศัยหลักการไม่ชอบนำ้แบบยิ่งยวด (superhydrophobic) จากการเลียนแบบพื้นผิวใบบัว
 
<br />