ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางพิเศษประจิมรัถยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 5:
| map = EXAT system overview map.svg
| map_notes = ทางพิเศษสายศรีรัช–วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
<br/> (สีม่วงเข้ม)
| length_km = 16.7
| history = เปิดให้บริการ 22 สิงหาคม 2559
| direction_a = ตะวันออก
| terminus_a = {{ป้ายทางหลวง|E|ศรีรัช}} [[ทางพิเศษศรีรัช]] (ส่วน C) ใน[[เขตจตุจักร]]
| junction =
| direction_b = ตะวันตก
| terminus_b = {{ป้ายทางหลวง|MF|9}} [[ถนนกาญจนาภิเษก]] (ด้านตะวันตก) ใน[[เขตตลิ่งชัน]]
บรรทัด 20:
 
== ประวัติ ==
ทางพิเศษสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครสร้างขึ้นตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่[[อำเภอบางกรวย]] [[จังหวัดนนทบุรี]] และ[[เขตทวีวัฒนา]] [[เขตตลิ่งชัน]] [[เขตบางพลัด]] [[เขตบางกอกน้อย]] [[เขตบางซื่อ]] และ[[เขตจตุจักร]] [[กรุงเทพมหานคร]] พ.ศ. 2555 โดยเหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากมีความจำเป็นต้องก่อสร้าง ทางพิเศษศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ในท้องที่อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี และเขตทวีวัฒนา, เขตตลิ่งชัน, เขตบางพลัด, เขตบางกอกน้อย, เขตบางซื่อ และเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร เพื่ออำนวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่การจราจรและการขนส่งอันเป็นกิจการสาธารณูปโภค ในการนี้สมควรกำหนดเขตที่ดิน ในบริเวณที่ที่จะเวนคืนในท้องที่ดังกล่าว เพื่อให้เจ้าหน้าที่ หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเจ้าหน้าที่มีสิทธิเข้าไปทำการสำรวจ และเพื่อทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ที่จะต้องเวนคืนที่แน่นอน จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2555/A/016/4.PDF พระราชกฤษฎีกา กำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน พุทธศักราช 2555],ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 129 หน้า 4 วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2555.</ref>
 
== ลักษณะทางด่วน ==
* เขตทางด่วนมีความกว้างประมาณ 30 เมตร แบ่งออกเป็น 6 ช่องจราจร (ไป - ไป–กลับอย่างละ 3 ช่องจราจร กว้างช่องละประมาณ 3.50 เมตร ไหล่ทางด้านนอกกว้าง 1.50 เมตร ไหล่ทางด้านในกว้าง 0.50 เมตร)
* เขตทางด่วนขึ้น - ลง (Main Line + Ramp) กว้างประมาณ 40-45 เมตร เฉพาะ Ramp กว้างประมาณ 10 เมตร (2 ช่องจราจร) ทางแยกต่างระดับ (Interchange กว้างประมาณ 200-300 เมตร)
* มีทางแยกต่างระดับ 3 บริเวณ ทางขึ้น - ลง 6 บริเวณ ประกอบด้วย
บรรทัด 30:
*** ทางแยกต่างระดับบรมราชชนนี
*** ทางแยกต่างระดับศรีรัช
** ทางขึ้น - ขึ้น–ลง 6 แห่ง
*** ทางขึ้น - ขึ้น–ลงกาญจนาภิเษก
*** ทางขึ้น - ขึ้น–ลงราชพฤกษ์
*** ทางขึ้น - ขึ้น–ลงบางบำหรุ
*** ทางขึ้น - ขึ้น–ลงจรัญสนิทวงศ์
*** ทางขึ้น - ขึ้น–ลงพระราม 6
*** ทางขึ้น - ขึ้น–ลงกำแพงเพชร
 
โดยเส้นทางส่วนใหญ่จะอยู่แนวเดียวกับเส้น[[ทางรถไฟสายใต้]] และโครงการ[[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน|รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน]] ของ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]]