ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทวีปแอนตาร์กติกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ปรับปรุงถ้อยคำและรายละเอียดการอ้างอิงให้สื่อความชัดเจน
เพิ่มเติมเนื้อหาโดยแปลจากบทความภาษาอังกฤษ
บรรทัด 15:
'''แอนตาร์กติกา''' ({{lang-en|Antarctica}} {{audio|en-us-Antarctica.ogg| /æntˈɑːrktɪkə/|help=no}}) เป็น[[ทวีป]]ที่อยู่ใต้สุดของ[[โลก]]ตั้งอยู่ใน[[ภูมิภาคแอนตาร์กติก]]ใน[[ซีกโลกใต้]]และเป็นที่ตั้ง[[ขั้วโลกใต้]]ทางภูมิศาสตร์ เกือบทั้งหมดอยู่ใน[[วงกลมแอนตาร์กติก]]และล้อมรอบด้วย[[มหาสมุทรใต้]] มีพื้นที่ประมาณ 14 ล้านตารางกิโลเมตร เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 5 ของโลกใหญ่กว่า[[ทวีปออสเตรเลีย]]ถึง 2 เท่า พื้นที่ 98% ของทวีปปกคลุมด้วยน้ำแข็งหนาเฉลี่ย 1.9 กิโลเมตร<ref name="Bedmap2">{{cite journal | author1= P. Fretwell| author2= J. L. Bamber| author3= R. Bell| display-authors=1| title= Bedmap2: improved ice bed, surface and thickness datasets for Antarctica| journal= The Cryosphere journal| pages= 375-393| url= http://www.the-cryosphere.net/7/375/2013/tc-7-375-2013.pdf| format= PDF| doi= 10.5194/tc-7-375-2013| publication-date= 28 February 2013| access-date= 6 January 2014}}</ref> ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดเว้นแต่ส่วนเหนือสุดของ[[คาบสมุทรแอนตาร์กติก]]
 
โดยค่าเฉลี่ยแล้วแอนตาร์กติกาเป็นทวีปที่หนาวที่สุด แห้งแล้งที่สุด ลมแรงที่สุดและมีความสูงโดยเฉลี่ยมากที่สุด<ref name=dnaclimate>{{cite web| archive-url= https://web.archive.org/web/20161113152357/http://www.dna.gov.ar/la-ant%C3%A1rtida| archive-date= 13 November 2016| url= http://www.dna.gov.ar/la-ant%C3%A1rtida| title= La Antártida| publisher= Dirección Nacional del Antártico| language= Spanish| access-date= 13 November 2016}}</ref> แอนตาร์กติกาเป็นทะเลทรายที่มี[[หยาดน้ำฟ้า]]เฉลี่ย 200 มิลลิเมตรต่อปีตามแนวชายฝั่งและพื้นที่ภายใน<ref>{{cite web| last= Joyce| first= C. Alan| date= 18 January 2007| title= The World at a Glance: Surprising Facts| work= The World Almanac| url= http://www.worldalmanac.com/blog/2007/01/the_world_at_a_glance_surprisi.html| access-date= 7 February 2009| archive-url= https://web.archive.org/web/20090304001123/http://www.worldalmanac.com/blog/2007/01/the_world_at_a_glance_surprisi.html| archive-date= 4 March 2009}}</ref> แม้ว่าในช่วงไตรมาสที่สามซึ่งเป็นช่วงที่หนาวสุดของปีจะมีอุณหภูมิเฉลี่ย -63 °C แต่(ที่สถานีวอสตอค ของรัสเซีย) อุณหภูมิอาจที่วัดได้เคยต่ำถึง -89.2 °C (และอาจเคยวัดได้ถึง -94.7 °C หากโดยเป็นการวัดจากอากาศดาวเทียมในอวกาศ<ref>{{cite web| title= Coldest temperature ever recorded on Earth in Antarctica: -94.7C (−135.8F)| url= https://www.theguardian.com/world/2013/dec/10/coldest-temperature-recorded-earth-antarctica-guinness-book| website= The Guardian| publication-date= 10 December 2013| access-date= 12 July 2017}}</ref>) บางสถานที่มีคนราว 1,000 ถึง 5,000 คนอาศัยในสถานีวิจัยที่กระจายอยู่ทั่วที้งทวีปตลอดทั้งปี สิ่งมีชีวิตในแอนตาร์กติกาจะเป็นพวก[[สาหร่าย]], [[แบคทีเรีย]], [[เห็ดรา]], [[พืช]], [[โพรทิสต์]]และ[[สัตว์]]บางชนิดเช่นตัวเห็บ, ตัวไร, [[นีมาโทดา|หนอนตัวกลม]], [[เพนกวิน]], [[วงศ์ใหญ่สัตว์ตีนครีบ|สัตว์ตีนครีบ]]และ[[หมีน้ำ]]ส่วนพืชก็จะเป็นพวก[[ทันดรา]]
 
แม้ว่ามีตำนานเล่าขานเกี่ยวกับการมีอยู่ของดินแดนใต้ตั้งแต่ยุคโบราณ แอนตาร์กติกาถูกระบุว่าเป็นดินแดนสุดท้ายบนโลกในประวัติศาสตร์ที่ถูกค้นพบ เพราะไม่มีใครเคยพบเลยจนกระทั่ง พ.ศ. 2363 นักสำรวจชาวรัสเซีย[[เฟเบียน ก็อทลีป ฟอน เบลลิ่งเชาเซน]]และ[[มิคาอิล ลาซาเรฟ]]ที่อยู่บน[[Vostok (sloop-of-war)|เรือสลุบ''วอสตอค'' ]]และ[[Mirny (sloop-of-war)|เรือสลุบ''เมอร์นีย์'' ]]ได้สังเกตเห็น[[หิ้งน้ำแข็งฟิมโบล]]แต่ก็ไม่ได้สนใจเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เป็นมิตรต่อมนุษย์ ขาดแคลนทรัพยากรในการสำรวจและความห่างไกลของพื้นที่ ต่อมาพ.ศ. 2438 ทีมสำรวจชาวนอร์เวย์ได้รับการยืนยันการมาเยือนดินแดนแห่งนี้เป็นครั้งแรก
 
ทวีปแอนตาร์กติกาเป็น[[ดินแดนใต้การปกครองร่วม]]โดยพฤตินัยตาม[[ดินแดนใต้การปกครองร่วม (กฎหมายระหว่างประเทศ)|กฎหมายระหว่างประเทศ]]และอยู่ภายใต้การควบคุมของ[[ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก]]ที่ลงนามครั้งแรกโดย 12 ประเทศใน พ.ศ. 2502 และตามด้วยการลงนามอีกเพิ่ม 38 ประเทศ ระบบสนธิสัญญานี้ห้ามมิให้มีการทำเหมืองแร่ กิจกรรมทางทหาร ทดลองระเบิดนิวเคลียร์และการกำจัดกากนิวเคลียร์ แต่จะสนับสนุนการวิจัยทางวิทยาศาสตร์และปกป้องชั้นโอโซนของทวีป ทำให้มีการทดลองอย่างต่อเนื่องโดนนักวิทยาศาสตร์ 4,000 คนจากหลายประเทศบนทวีปนี้
 
== นิรุกติศาสตร์ ==
ชื่อแอนตาร์กติกา (''Antarctica'' ) เป็น[[การถอดเป็นอักษรโรมัน]]จากคำประสมภาษากรีกคำว่า ἀνταρκτική (''antarktiké'' ) ซึ่งเป็นคำนามเพศหญิงของ [[:en:wikt:ἀνταρκτικός|ἀνταρκτικός]] (''antarktikós'' คำนามเพศชาย)<ref>{{cite book |last1=Liddell |first1=Henry George |last2=Scott |first2=Robert |editor-last=Crane |editor-first=Gregory R. |contribution=Antarktikos |title=A Greek–English Lexicon |series=Perseus Digital Library |publisher=Tufts University |url=http://www.perseus.tufts.edu/hopper/text?doc=Perseus%3Atext%3A1999.04.0057%3Aentry%3D%239514 |accessdate=18 November 2011}}</ref> ซึ่งมีความหมายว่า "ตรงข้ามกับ[[อาร์กติก]]" หรือ "ตรงข้ามกับ[[ทิศเหนือ]]"<ref>{{cite book | last= Hince| first= Bernadette| date= 2000| title= The Antarctic Dictionary| publisher= CSIRO Publishing| isbn= 978-0-9577471-1-1| oclc= 869026184| page= 6| url= https://books.google.com/?id=lJd8_owUxFEC&pg=PA6&lpg=PA6&dq=antarctica+opposite+of+north+greek}}</ref>
 
350 ปีก่อนคริสต์ศักราช[[แอริสตอเติล]]เขียนเกี่ยวกับภูมิภาคแอนตาร์กติกลงในหนังสืออุตุนิยมวิทยาของเขา<ref>{{Cite book| author= Aristotle| url=http://classics.mit.edu/Aristotle/meteorology.2.ii.html| title= Meteorologica| volume= II| department= Part 5| orig-year= 350 BC| translator-last= Webster| translator-first= Erwin Wentworth| place= Oxford| publisher= Clarendon Press| publication-date= 1923| page= 140| oclc= 1036675439}}</ref>, [[Marinus of Tyre|มารินัส ออฟ ไทเออร์]]ได้ใช้ชื่อนี้ใน[[แผนที่โลก]]ตั้งแต่ศตวรรษที่ 2 ของเขา ซึ่งถูกพบอยู่ในสภาพที่ไม่ได้ดูแลรักษา, นักประพันธ์ชาวโรมัน[[Gaius Julius Hyginus|ไฮจีนัส]]และ[[Apuleius|อพูเลียส]] (คริสต์ศตวรรษที่ 1-2) ใช้คำว่า ''polus antarcticus'' แทนขั้วโลกใต้ซึ่งเป็นการถอดเป็นอักษรโรมันจากชื่อภาษากรีก<ref>{{Cite book | last= Hyginus| first= Gaius Julius| url= https://books.google.com/books?id=GlWM1eMefB8C&printsec=frontcover&hl=bg&source=gbs_ge_summary_r&cad=0#v=onepage&q&f=false| title= De astronomia| editor-first= Ghislaine| editor-last= Viré| place= Stuttgart| publisher= Teubner| date= 1992| page= 176| oclc= 622659701| lang= Latin}}</ref><ref>{{Cite book | author= Apuleius| url= https://books.google.com/books?id=MJ8MAAAAYAAJ&printsec=frontcover&hl=bg&source=gbs_ge_summary_r&cad=0#v=onepage&q&f=false| title= Apuleii Opera omnia| volume= tertium| place= London| publisher= A. J. Valpy| date= 1825| page= 544| oclc= 840117244| lang= Latin}}</ref>, ภาษาฝรั่งเศสโบราณรับมาเป็น ''pole antartike'' (ภาษาฝรั่งเศสปัจุบันปัจจุบัน ''pôle antarctique'' ) โดยมีหลักฐานใน พ.ศ. 1813 และ[[ภาษาอังกฤษสมัยกลาง]]รับมาต่อเป็นคำว่า '' pol antartik'' ในบทความวิชาการโดย[[Geoffrey_Chaucer|เจฟฟรีย์ ชอสเซอร์]] ใน พ.ศ. 1934 (ภาษาอังกฤษปัจจุบัน ''Antarctic Pole'' )<ref>{{Cite book | last= Chaucer| first= Geoffrey| url= http://art-bin.com/art/oastro.html| title= A Treatise on the Astrolabe| date=c. 1391|lang= Middle English| editor-last= Skeat| editor-first= Walter William| place= London| publisher= N. Trübner& Co.| publication-date= 1872| ol= 14032283M| oclc= 171715| lccn= 12017813}}</ref>
 
ก่อนที่จะมีความหมายทางภูมิศาสตร์ในปัจจุบัน คำนี้จะเอาไว้ใช้เรียกสถานที่ต่าง ๆ ที่อยู่ "ตรงข้ามกับทางเหนือ" เช่นอาณานิคมฝรั่งเศสที่ก่อตั้งขึ้นในบราซิลเป็นเวลาสั้น ๆ ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เรียกว่า "แอนตาร์กติกาแอนตาร์กติกฝรั่งเศส" ({{lang-fr|France Antarctique}}, {{lang-pt|França Antártica}})
 
ในยุคช่วงทศวรรษปี 18902433 [[จอห์น จอร์จ บาร์โธโลมิว]]ชาวสกอตแลนด์ได้ทำแผนที่โดยใช้คำว่าแอนตาร์กติกาเป็นชื่อทวีปเป็นครั้งแรก<ref>{{cite web | department= The Bartholomew Archive| title= John George Bartholomew and the naming of Antarctica| periodical= CAIRT Newsletter of the Scottish Maps Forum| issue= 13| pages= 4-6| publisher= National Library of Scotland| date= July 2008| issn= 1477-4186| url= https://www.nls.uk/media/1008031/cairt13.pdf| format= PDF}}</ref>
 
== การเปลี่ยนแปลงชื่อ ==
ในยุโรปจินตนาการที่มีมายาวนานถึงทวีปที่ขั้วโลกใต้ (แต่ขณะนั้นยังไม่ได้ค้นพบ) เรียกขานดินแดนนี้ว่า เทร์รา ออสตราลิส ({{lang-la|''Terra Australis'' }}) ซึ่งบางครั้งจะย่อเป็น 'ออสตราเลีย ({{lang-la|''Australia'' }})' ดังเช่นในภาพพิมพ์ไม้ที่ชื่อว่า Sphere of the winds ที่บันทึกอยู่ในตำราทางโหราศาสตร์ที่ตีพิมพ์ใน[[แฟรงค์เฟิร์ต]]ในปี พ.ศ. 2088<ref>{{cite book |last1=Barth |first1=Cyriaco Jacob zum |title=Astronomia: Teutsch Astronomei |date=1545 |location=Frankfurt |lang=Latin}}</ref> แม้ว่าชื่อเต็มดังกล่าวจะเป็นที่รู้จัก แต่ชื่อย่อ 'ออสตราเลีย' ก็ได้ถูกใช้ในแวดวงวิชาการของยุโรป
 
จากนั้นในคริสตศตวรรษที่ 19 ผู้ปกครองอาณานิคมที่[[ซิดนีย์]]ได้ยกเลิกชื่อดินแดนที่มีที่มาจากภาษาดัตช์ที่เรียกว่า นิวฮอลแลนด์ ({{lang-nl|''Nieuw Holland'' }}) แต่แทนที่จะตั้งชื่อใหม่พวกเขาได้นำชื่อ 'ออสตราเลีย' จากทวีปที่ขั้วโลกใต้มาใช้แทน ทำให้ทวีปที่ขั้วโลกใต้ไม่มีชื่อเรียกเป็นเวลากว่าแปดสิบปี ระหว่างช่วงเวลานั้นนักภูมิศาสตร์ได้พยายามหาชื่อที่เหมาะสม โดยค้นหาคำในบทกวีที่จะมาใช้แทน มีการเสนอคำอย่างเช่น อุลติมา ({{lang-la|''Ultima'' }}) และ อันติโปเดีย ({{lang-gr|''Αντιποδια'' }})<ref>{{cite book |last1=Cameron-Ash |first1=M. |title=Lying for the Admiralty: Captain Cook's Endeavour Voyage |date=2018 |publisher=Rosenberg |location=Sydney |isbn=978-0-6480439-6-6 |page=20}}</ref> จนในที่สุด แอนตาร์กติกา ได้ถูกนำมาใช้ในช่วงทศวรรษปี 2433<ref>{{cite journal |last1=Woodburn |first1=Susan |title=John George Bartholomew and the naming of Antarctica |journal=Cairt |date=July 2008 |issue=13 |pages=4–6}}</ref>
 
== การศึกษาวิจัยในขั้วโลกใต้ ==
เพื่อให้การศึกษาวิจัยด้านทาง[[วิทยาศาสตร์]]และสิ่งแวดล้อมในทวีปแอนตาร์กติกา ประเทศต่าง ๆ จึงได้ตกลงร่วมมือสร้างศูนย์วิจัย โดยเริ่มเมื่อเดือนกรกฎาคม [[.ศ. 20102553]] ทำให้สามารถวัดความหนาและปริมาณของน้ำแข็งที่ปกคลุมทวีปแอนตาร์กติกาได้ และยังค้นพบว่าภายใต้น้ำแข็งที่หนากว่า 2,000 เมตรนั้น ยังมีแผ่นดินที่กว้างใหญ่อยู่ หลังจากนั้นการค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับทวีปแอนตาร์กติกาก็ได้รับความสนใจมากขึ้นทีเดียว และในปี ค.ศ. 20102553 หลายประเทศได้ร่วมลงนามก่อตั้ง[[สนธิสัญญา]]สำหรับทวีปแอนตาร์กติกาขึ้น โดยให้ทุกประเทศสามารถเข้าทำการศึกษาวิจัยได้ ยกเว้นแต่การทำกิจกรรมด้านทหาร
 
=== ศูนย์วิจัยที่ทวีปแอนตาร์กติกา ===
ดินแดนหลาย ๆ แห่งในทวีปแอนตาร์กติกาถูกประเทศต่าง ๆ อ้างกรรมสิทธิ์ครอบครอง เช่น ประเทศ[[ประเทศอาร์เจนตินา]], [[ชิลี]], [[ออสเตรเลีย]], [[นิวซีแลนด์]], [[สหราชอาณาจักร]] เป็นต้น และในดินแดนเหล่านี้ก็จะมีศูนย์วิจัยของประเทศต่าง ๆ ตั้งอยู่ ทั้งทวีปแอนตาร์กติกามีศูนย์วิจัยของประเทศต่าง ๆ มากกว่า 20 ประเทศ จำนวน 60 แห่ง ในช่วงฤดูหนาวจะมีนักวิจัยทำงานอยู่ที่นี่ประมาณ 1,000 คน และจะเพิ่มเป็น 4,000 คนในฤดูร้อน ในศูนย์วิจัยแมกเมอร์โดที่อยู่ในเขตที่นิวซีแลนด์อ้างกรรมสิทธิ์ เป็นศูนย์วิจัยและชุมชนที่ใหญ่ที่สุดในแอนตาร์กติกา สามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้มากถึง 1,000 คน
 
== ภูมิประเทศ ==
เส้น 59 ⟶ 64:
{|class="wikitable sortable"
|-
! ปีที่เริ่มอ้างสิทธิ์
! วันที่
! ประเทศ
! scope="col" style="width: 120px;" |ดินแดน
! ชื่อในภาษาท้องถิ่น
! ขอบเขตการอ้างสิทธิ์
! class=unsortable |แผนที่
|-
|style="text-align:center;" |2382
|{{flag|ฝรั่งเศส}}
|{{flagicon|French Southern and Antarctic Lands}} [[อาเดลีแลนด์]]
|Terre Adélie
|142°202'ตะวันออก ถึง 136°11'ตะวันตกออก
|[[ไฟล์:Antarctica, France territorial claim.svg|90px]]
|-
|style="text-align:center;" |2451
|1908
|{{flag|สหราชอาณาจักร}}
|{{flagicon|หมู่เกาะฟอล์กแลนด์}} อาณานิคม[[หมู่เกาะฟอล์กแลนด์]] (2451-2505)<br/><br/>{{flagicon|บริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี}} [[บริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี|บริติชแอนตาร์กติก<br/>เทร์ริทอรี]] (2505-)
|{{flag|บริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี}}
|Falkland Islands Dependencies<br/><br/><br/>British Antarctic Territory
|20°00′W to 80°00′W <small>รวมทั้งพื้นที่ซ้อนทับ:
|20° ตะวันตกถึง 80° ตะวันตก
* 53°00′W ถึง 25°00′W อ้างสิทธิ์โดย อาร์เจนตินา (2486)
* 74°00′W ถึง 53°00′W อ้างสิทธิ์โดย ชิลี (2483) และ อาร์เจนตินา (2486)
* 80°00′W ถึง 74°00′W อ้างสิทธิ์โดย ชิลี (2483)
</small>
|[[ไฟล์:Antarctica, United Kingdom territorial claim.svg|90px]]
|-
|style="text-align:center;" |2466
|1923
|{{flag|นิวซีแลนด์}}
|{{flagicon|New Zealand}} [[รอสส์ดีเพนเดนซี]]
|Ross Dependency
|150°00′ ตะวันตกถึง 160°00′ ตะวันออก
|[[ไฟล์:Antarctica, New Zealand territorial claim.svg|90px]]
|-
|style="text-align:center;" |2472
|1924
|{{flag|ฝรั่งเศส}}
|{{flagicon|French Southern and Antarctic Lands}} [[อาเดลีแลนด์]]
|Terre Adélie
|142°2'ตะวันออก ถึง 136°11'ตะวันตกออก
|[[ไฟล์:Antarctica, France territorial claim.svg|90px]]
|-
|1929
|{{flag|นอร์เวย์}}
|{{flagicon|Norway}} [[เกาะปีเตอร์ที่ 1]]
เส้น 94 ⟶ 103:
|[[ไฟล์:Antarctica Peter I Island.png|90px]]
|-
|style="text-align:center;" |2476
|1933
|{{flag|ออสเตรเลีย}}
|{{flagicon|Australia}} [[ออสเตรเลียนแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี|ออสเตรเลียน<br/>แอนตาร์กติกเทร์ริทอรี]]
|Australian Antarctic Territory
|160°00′ตะวันออกถึง 142°202'ตะวันออก และ<br /> 136°11'ตะวันออกถึง 44°38'ตะวันออก
|[[ไฟล์:Antarctica, Australia territorial claim.svg|90px]]
|-
|style="text-align:center;" |2482
|1939
|{{flag|นอร์เวย์}}
|{{flagicon|Norway}} [[ควีนมอดแลนด์]]
|Dronning Maud Land
|44°38'ตะวันออกถึง 20°00′ตะวันตก
|[[ไฟล์:Antarctica, Norway territorial claim (2015).svg|90px]]
|-
|style="text-align:center;" |2483
|1940
|{{flag|ชิลี}}
|{{Flagicon image|Flag of Magallanes, Chile.svg}} [[ชิเลียนแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี|ชิเลียน<br/>แอนตาร์กติกเทร์ริทอรี]]
|Territorio Chileno Antártico
|53°00′ตะวันตกถึง 90°00′ตะวันตก
|[[ไฟล์:Antarctica, Chile territorial claim.svg|90px]]
|-
|style="text-align:center;" |2486
|1943
|{{flag|อาร์เจนตินา}}
|{{flagflagicon|อาร์เจนไทน์แอนตาร์กติกา}} [[อาร์เจนไทน์แอนตาร์กติกา|อาร์เจนไทน์<br/>แอนตาร์กติกา]]
|Antártida Argentina
|25°00′ตะวันตกถึง 74°00′ตะวันตก
|[[ไฟล์:Antarctica, Argentina territorial claim.svg|90px]]
|- class="sortbottom"
|
|style="text-align:center;" |(ไม่มี)
|ดินแดนที่ไม่ถูกอ้างสิทธิ์<br/>([[มารีเบิร์ดแลนด์]])
|Marie Byrd Land
|90°00′ตะวันตกถึง 150°00′ตะวันตก<br />(ยกเว้น เกาะปีเตอร์ที่ 1)
|[[File:Antarctica, unclaimed.svg|90px]]
|}
 
เส้น 126 ⟶ 142:
{|class="wikitable sortable"
|-
! วันปีที่อ้างสิทธิ์
! ประเทศ
! ดินแดน
เส้น 132 ⟶ 148:
! ขอบเขตการอ้างสิทธิ์
! ข้อมูล
! class=unsortable |แผนที่
|-
|style="text-align:center;" |2455-2455
|1912-1912
|{{flag|จักรวรรดิญี่ปุ่น}}
|{{flagicon image|Flag of the Imperial Japanese Antarctic Expedition.svg}} [[ยามาโตะยูคิฮาระ]]
|大和雪原
|150°00′ ตะวันตกถึง 160°00′ ตะวันออก
|ปัจจุบันดินแดนนี้คือ [[รอสส์ดีเพนเดนซี]]
|[[ไฟล์:Antarctica, New Zealand territorial claim.svg|90px]]
|-
|style="text-align:center;" |2482-2488
|1939-1945
|{{flag|นาซีเยอรมนี}}
|{{flagicon image|Flagge Reichskolonialbund2.svg}} [[นิวสวาเบีย]]
|Neuschwabenland
|44°38'ตะวันออกถึง 20°00′ตะวันตก
|ปัจจุบันดินแดนนี้คือ [[ควีนมอดแลนด์]]
|[[ไฟล์:NewSwabiaMap.jpg|90px]]
|}
 
== ดูเพิ่ม ==
* {{Portal-inline|size=tiny|ภูมิศาสตร์}}
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่วิกิซอร์ซภาษาอื่น|en|Category:Antarctica|แอนตาร์กติกา}}
{{วิกิข่าวภาษาอังกฤษ|Antarctica}}
* [http://apc.mfa.government.bg Antarctic Place-names Commission of Bulgaria]
*{{คอมมอนส์-หมวดหมู่-บรรทัด|Antarctica|แอนตาร์กติกา}}
{{Sister project links|voy=Antarctica|n=Portal:Antarctica|m=no|mw=no}}
* {{In Our Timewikivoyage|Antarctica.|b00ss2th|Antarctica. แอนตาร์กติกา}}
* [[File:Wiktionary-logo.svg|16px]] [https://en.wiktionary.org/wiki/Category:Antarctic_English ศัพท์ภาษาอังกฤษแบบแอนตาร์กติก] ที่ [[วิกิพจนานุกรม]]
* [http://apcwww.mfaapcbg.government.bgorg/ Antarctic Place-names Commission] – Ministry of Foreign Affairs of Bulgaria]
* [https://www.bbc.co.uk/programmes/b00ss2th Antarctica] – In Our Time, BBC Radio 4
* {{dmoz|Regional/Polar_Regions/Antarctic/|Antarctic region}}
* {{CIA World Factbook link|ay|Antarctica}}
เส้น 165 ⟶ 188:
* [http://www.usap.gov/ U.S. Antarctic Program Portal]
* [http://www.antarctica.gov.au/ Australian Antarctic Division]
* [http://www.sanap.ac.za/ South African National Antarctic Programme]&nbsp;– Official Website]{{dead link|date=มิถุนายน 2560|bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}
* [http://www.loc.gov/rr/international/frd/antarctica/antarctica.html Portals on the World&nbsp;– Antarctica] from the [[Library of Congress]]
* [http://lima.nasa.gov/ NASA's LIMA] (Landsat Image Mosaic of Antarctica) ([http://lima.usgs.gov/ USGS mirror])
เส้น 171 ⟶ 194:
* [http://www.nzhistory.net.nz/politics/antarctica-and-nz Antarctica and New Zealand (NZHistory.net.nz)]
* [https://www.nytimes.com/slideshow/2010/08/23/science/23saw_antarctica.html Journey to Antarctica in 1959]&nbsp;– slideshow by ''[[The New York Times]]''
* Listen to Ernest Shackleton describing his 1908 [http://aso.gov.au/titles/spoken-word/my-south-polar-expedition/ South Pole Expedition] (The National Film and Sound Archive of Australia, 2007)
* The recording describing Shackleton's 1908 South Pole Expedition was added to the [[National Film and Sound Archive]]'s [[Sounds of Australia]] registry in 2007
* [http://cdn.antarcticglaciers.org/wp-content/uploads/2013/06/Antarctic_subglacial_lakes.jpg Map of Antarctican subglacial lakes]
* [https://www.youtube.com/watch?v=_om9h7vQXh0 Video: The Bedrock Beneath Antarctica]
* [http://bruceluyendyk.blogspot.com/ White Ocean of Ice] Antarctica and climate change blog
 
{{ทวีป}}
{{ดินแดน}}
{{Authority control|VIAF=233742497|LCCN=sh/85/05490|GND=4192069-7|SELIBR=139515|HDS=41753|NKC=ge128383}}
 
[[หมวดหมู่:ทวีปแอนตาร์กติกา| ]]