ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
เพิ่มเติมรายละเอียดในอ้างอิงและแปลข้อความภาษาจีนในหน้าเพจ
บรรทัด 21:
'''ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน''' หรือ '''ภาษาฮกเกี้ยน''' ([[ภาษาหมิ่นใต้]]:福建話, [[ภาษาจีนกลาง|ภาษาจีน]]:泉漳話) เป็นภาษาหมิ่นใต้ที่มีจำนวนผู้ใช้มากที่สุด มักจะใช้เรียกแทนภาษาหมิ่นใต้ ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐานมีแหล่งต้นกำเนิดมาจากจังหวัดจงาจิว เจียงจิวและจังหวัดเอ้หมึงในมณทฑฝูเจี้ยน นอกไปจากนี้ยังมีจำนวนผู้ใช้จำนวนมากในประเทศไต้หวัน สิงคโปร์ และประเทศฟิลิปปินส์บางส่วน
 
ภาษาหมิ่นใต้ถิ่นนี้ ประเทศไต้หวันเรียกว่า '''ไต้อี๊''' ([[อักษรจีน]]:臺語) ในเอเชียตะวันออกเฉียงไต้เรียกว่า '''ฮกเกี้ยนเอ''' ([[:zh:白話字|ป๋ายเอ๋ยี๋]]:Hok-kiàn-ōe) ส่วนจีนกลางเรียกว่า '''เฉวียนจางฮว่า''' (泉漳話 ภาษาเฉวียนจิว-จางจิว) เพื่อป้องกันการสับสนกับภาษาฟุกจิว ([[อักษรจีน]]:福州話)
 
==ที่มาของชื่อ==
เกี่ยวกับการเรียกชื่อภาษาหมิ่นใต้นั้น ที่จริงแล้วยังมีคำอื่นที่ใช้เรียกตามความคลุมเครืออีกได้แก่ "ฮกเกี้ยน" (福建話), "หมิ่นใต้" (閩南話), "ไต้หวัน" (臺灣話),"ฮกเล๊า" (福佬話), "เอ๋อเล๊า" (鶴佬話), "โหล๊ก" (河洛話) โดยมีที่มาดังนี้
* "โหล๊ก" ในงานวิจัยจองอู๋ฮวาย〈河洛語閩南語中之唐宋故事〉<ref name="Wu 2008">{{cite web| title= 臺灣閩南語之淵源與正名| author=[[ 吳坤明]]| work= 臺灣學研究第五期| pages= 54-73| date= June 2008| publisher= 臺灣學研究中心| url= http://www.ntl.edu.tw/public/Attachment/910289373634.pdf| format= PDF}}</ref><ref>[{{Cite book| url= http://www.books.com.tw/exep/prod/booksfile.php?item=0010562497| title= 臺灣話俗諺語典(上,下冊)‧序言],)| author= 蕭藤村| place= Taibei, ROC| date= 2012-10-25| isbn= 9789571168333| publisher= 五南圖書出版股份有限公司| oclc= 826833072}}</ref>ได้อธิบายไว้ว่า
** 學佬話: เป็นคำที่ใช้เรียกในบริเวณข้างเคียงไหหลำ สำหรับชาวแคะเรียกว่าฮกโล่ (hok-ló, 福佬)
** 福佬話: เป็นอีกคำที่ชาวแคะใช้เรียก
บรรทัด 33:
==การใช้ในท้องถิ่น==
===มณฑลฝูเจี้ยน===
ปัจจุบันภาษาฮกเกี้ยนในประเทศจีนมีการแบ่งแยกเป็นท้องถิ่นอยู่อีกหลายที่ หลัก ๆ แบ่งได้เป็นสี่ที่<ref>[{{Cite web| url= http://www.fjsq.gov.cn/ReadNews.asp?NewsID=4607&BigClassName=福建概览&SmallClassName=福建概览&SpecialID=0&Style=2| title= 福建概览 方言]| date= 2015-10-23}}</ref>ได้แก่
* ฮกเกี้ยนภาคตะวันออก (สำเนียงเอ้หมึง) โดยแบ่งออกเป็นสำเนียงย่อยในเกาะและนอกเกาะเอ้หมึง
* ฮกเกี้ยนถิ่นจงาจิว สามารถแบ่งย่อยเป็นสำเนียงย่อยดังนี้: สำเนียงถงอาน (同安话), สำเนียงกิมหมึง (金门话), สำเนียงหนานอาน (南安话), สำเนียงอานซี (安溪话), สำเนียงจิ๋นเกียง (晋江话), สำเนียงสื๋อสือ (石狮话), สำเนียงหุยอัน (惠安话), สำเนียงเถาปัก (头北话), สำเนียงหุยหนาน (惠南话)
บรรทัด 55:
|- style="text-align:center; font-size:smaller;"
| style="width:70px; text-align:right;" | <!--[{{SERVER}}{{localurl:Template:CSS_IPA_vowel_chart|action=edit}} 修改]-->
| style="width:60px60px;" | '''[[前元音|前]] <br/>หน้า'''
| style="width:60px60px;" | '''[[次前元音|次前]] <br/>ค่อนหน้า'''
| style="width:60px60px;" | '''[[央元音|央]] <br/>กลาง'''
| style="width:60px60px;" | '''[[次後元音|次後]] <br/>ค่อนหลัง'''
| style="width:60px60px;" | '''[[後元音|後]] <br/>หลัง'''
|-
| style="height:30px30px; font-size:smaller; text-align:right;" | '''[[閉元音|閉]] ปิด'''
| style="height:210px;" colspan=5 rowspan=7 | <div style="position:relative;">[[ไฟล์:Blank vowel trapezoid.svg|300px]]<div style="background:none; position:absolute; top:0; left:0;">
{| style="position:relative; width:300px; height:210px; text-align:center; background:none;"
บรรทัด 115:
</div></div>
|-
| style="height:30px20px; font-size:smaller; text-align:right;" | '''[[次閉元音|次閉]] ใกล้ปิด'''
|-
| style="height:30px50px; font-size:smaller; text-align:right;" | '''[[半閉元音|半閉]]<br/>กลางปิด'''
|-
| style="height:30px30px; font-size:smaller; text-align:right;" | '''[[中元音|中]] กลาง'''
|-
| style="height:30px30px; font-size:smaller; text-align:right;" | '''[[半開元音|半開]]<br/>กลางเปิด'''
|-
| style="height:30px30px; font-size:smaller; text-align:right;" | '''[[次開元音|次開]] ใกล้เปิด'''
|-
| style="height:30px20px; font-size:smaller; text-align:right;" | '''[[開元音|開]] เปิด'''
|}</div>
{{col-break}}
บรรทัด 131:
===วรรณยุกต์===
:{| Class="wikitable" Style="text-align:center"
|+ลักษณะเสียงวรรณยุกต์จากสำเนียงเฉวียนจาง<ref>{{Cite book
|+泉漳片音调本调调值<ref>{{Cite book
| lastauthor = 周長楫
| firstcoauthors =
| authorlinkeditor = 李榮
| coauthorsyear = 2000
| year =
| title = 閩南語辭典,第21页
| page = 21
| language = Chinese
| publisher = 真平企業有限公司
| location = Tainan, ROC
| isbn = 9578447523
| oclc = 813718937
}}{{zh}}</ref>
! วรรณยุกต์
! colspan=2|จงาจิว
บรรทัด 173:
 
==อักษรศาสตร์และไวยากรณ์==
ภาษาฮกเกี้ยนจัดเป็นภาษาแยกหน่วยคำ ([[:en:Analytic language|ภาษาแยกคำAnalytic language]]) เหมือนภาษาไทย ดังนั้นคำแต่ละคำจะมีความหมายแยกออกชัดเจนและให้ความหมายตัวต่อตัว<ref>{{cite journal|last=Ratte|first=Alexander T.|date=May 2009|title=A DIALECTAL AND PHONOLOGICAL ANALYSIS OF PENGHU TAIWANESE|publisher=Williams College|location=Williamstown, Massachusetts|page=4|url=http://sanders.phonologist.org/Papers/ratte-thesis.pdf}}</ref> ปรกติแล้วจะเป็น ประธาน-กริยา-กรรม เหมือนภาษาไทย ทว่า ภาษาฮกเกี้ยนจะเป็นภาษาที่เน้นหัวข้อ ([[:en:Topic-prominent language|สิ่งสำคัญมาก่อนTopic-prominent language]]) ดังนั้นไวยากรณ์จึงไม่มีมาตรฐาน ภาษาฮกเกี้ยนไม่มี[[:en:Grammatical tense|เทนซ์]] ไม่แบ่งเพศ ไม่มีเอกพจน์พหูพจน์ แต่จะเป็นการเติมคำแยกเหมือนภาษาไทย
===บุรุษสรรพนาม===
บุรุษสรรพนามในภาษาฮกเกี้ยนมีดังนี้
บรรทัด 183:
|-
! สรรพนามบุรุษที่หนึ่ง
| {{big|{{Ruby-zh|我|góa|nan}}}}
| {{big|{{Ruby-zh|阮|goán|nan}}<sup>1</sup>{{·}}{{Ruby-zh|阮儂|goán-lâng|nan}}<sup>3</sup><br/>
{{Ruby-zh|咱|lán|nan}}<sup>2</sup>{{·}}{{Ruby-zh|咱儂|lán-lâng|nan}}<sup>3</sup><br/>
{{Ruby-zh|俺|án|nan}}<br/>
{{Ruby-zh|我儂|góa-lâng|nan}}}}
|-
! สรรพนามบุรุษที่สอง
| {{big|{{Ruby-zh|汝|lú/lí/lír|nan}}}}
| {{big|{{Ruby-zh|恁|lín|nan}}<br/>{{Ruby-zh|恁儂|lín-lâng|nan}}}}
|-
! สรรพนามบุรุษที่สาม
| {{big|{{Ruby-zh|伊|i|nan}}}}
| {{big|{{Ruby-zh|{{Ruby-zh|𪜶|亻因}}|in|nan}}<br/>{{Ruby-zh|伊儂|i-lâng|nan}}}}
|}
:<sup>1</sup> หมายถึง "พวกเรา" โดยไม่รวมผู้ฟัง
:<sup>1</sup> 具排他性的「我們」,即不包含聽話者。
:<sup>2</sup> หมายถึง "พวกเรา" โดยรวมผู้ฟังด้วย
:<sup>2</sup> 具包容性的「我們」,即包含聽話者。
:<sup>3</sup> ใช้ในสำเนียงฮกเกี้ยนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
:<sup>3</sup> [[东南亚福建话|東南亞福建話]]用法。
 
ปัจจัย (หน่วยคำเติมหลัง) สำหรับแสดงความเป็นเจ้าของมักใช้ 的 ({{lang|nan|ê}}) , ปัจจัย 之 ({{lang|nan|chi}}) ใช้ในคำภาษาจีนดั้งเดิม
所有格通常後綴「的」({{lang|nan|ê}}),文言上後綴「之」({{lang|nan|chi}})。而複數則一般無後綴表達所有格,如:{{Ruby-zh|阮|goán|nan}} {{Ruby-zh|翁|ang|nan}} {{Ruby-zh|姓|sèⁿ|nan}} {{Ruby-zh|陳|Tân|nan}}
:และปรกติพหูพจน์จะไม่เติมปัจจัยแสดงความเป็นเจ้าของ เช่น 阮 (goán) , 翁 (ang) , 姓 (sèⁿ) , 陳 (Tân)
 
== อ้างอิง ==
{{วิกิภาษาอื่น|zh-min-nan}}
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{วิกิภาษาอื่น|zh-min-nan}}
{{Commons category-inline|Southern Min language|ภาษาหมิ่นใต้}}<br/>
:{{wikivoyage|Minnan_phrasebook}}
 
{{Authority control|NDL=001117818}}
 
{{ภาษาจีน}}
เส้น 212 ⟶ 219:
 
[[หมวดหมู่:ภาษาในตระกูลภาษาจีน]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศจีน]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในไต้หวัน]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศฟิลิปปินส์]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศสิงคโปร์]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศมาเลเซีย]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศบรูไน]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอินโดนีเซีย]]