ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดินีมารีเยีย เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
| reg-type1 =
| regent1 =
| spouse = ใน [[จักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย|อเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย]]
| issue = {{unbulleted list | [[จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย]]<br /> | [[แกรนด์ดยุกอเล็กซานเดอร์ อเล็กซานโดรวิช]]<br /> | [[แกรนด์ดยุกจอร์จ อเล็กซานโดรวิช]]<br /> | [[แกรนด์ดัสเชสเซนเนีย อเล็กซานดรอฟนา]]<br /> | [[แกรนด์ดยุกไมเคิล อเล็กซานโดรวิชแห่งรัสเซีย]]<br /> | [[แกรนด์ดัสเชสโอลกา อเล็กซานดรอฟนา]]}}
| issue-link = #พระราชโอรสและธิดา
| full name = มารี โซฟี เฟรเดอริก แด็กมาร์
| house = [[ราชวงศ์โรมานอฟ]]
| father = [[พระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก|สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก]]
| mother = [[ลูอีเซอแห่งเฮ็สเซิน-คัสเซิล]]
| mother = [[หลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก|หลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล ]]
| birth_date = {{Birth date|df=yes|1847|11|26}}
| birth_place = [[พระราชวังสีเหลือง]], [[โคเปนเฮเกน]], [[เดนมาร์ก]]
บรรทัด 46:
ตลอดช่วงพระชนม์ชีพ เจ้าหญิงดักมาร์ทรงเป็นที่รู้จักว่า มารีเยีย เฟโอโดรอฟนา (ใน[[ภาษารัสเซีย]] Мария Фёдоровна) ซึ่งเป็นพระนามที่พระองค์ทรงใช้เมื่อเข้ารีตใน[[นิกายออร์โธด็อกซ์รัสเซีย|ศาสนจักรออร์โธด็อกซ์รัสเซีย]]ก่อนการอภิเษกสมรสในปี [[พ.ศ. 2409]] กับ[[จักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย]] ซึ่งในขณะนั้นทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นมกุฎราชกุมารแห่งรัสเซีย นอกจากนี้พระองค์ทรงเป็นที่รู้จักในครอบครัวว่า '''"มินนี่"''' (Minnie)
 
เจ้าหญิงดักมาร์ หรือ มารีเยีย เฟโอโดรอฟนาเป็นพระขนิษฐาใน[[เจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก|เจ้าหญิงอเล็กซานดรา]] พระมเหสีใน[[พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร|พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7]] และพระราชชนนีของ[[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5]] ที่ช่วยอธิบายถึงความละม้ายคล้ายคลึงกันอย่างมากระหว่าง[[จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย|จักรพรรดินิโคลัสที่ 2]] และสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังเป็นพระขนิษฐาใน[[สมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จที่ 1 แห่งกรีซ]] และ [[สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์ก|สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 8]] ซึ่งเป็นพระเชษฐาพระองค์ใหญ่ อีกทั้งยังเป็นพระภคินีใน[[เจ้าหญิงไธราแห่งเดนมาร์ก|เจ้าหญิงไธรา]] ดัชเชสแห่งคัมเบอร์แลนด์อีกด้วย
 
== เป็นคู่หมั้นสองหน สุดท้ายเป็นเจ้าสาว ==
 
การถือกำเนิดของอุดมคติเกี่ยวกับความชื่นชอบสิ่งซึ่งเป็นของสลาฟในจักรวรรดิรัสเซียทำให้[[สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่อะเลคซันดร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย]]ทรงเสาะหาเจ้าสาวให้กับ[[แกรนด์ดยุกนิโคลาส อเล็กซานโดรวิชแห่งรัสเซีย]] ในประเทศอื่นนอกเหนือไปจากรัฐเยอรมันต่างๆ ที่ได้ถวายพระชายาให้กับพระจักรพรรดิรัสเซีย อย่างเป็นธรรมเนียมปฏิบัติมาเป็นเวลานาน ในปี [[พ.ศ. 2407]] แกรนด์ดยุกนิโคลาส หรือ ซึ่งรู้จักในหมู่พระประยูรญาติว่า "นิกซา" เสด็จเยือน[[ประเทศเดนมาร์ก]]และทรงหมั้นกับเจ้าหญิงดักมาร์ แต่พระองค์สิ้นพระชนม์ด้วย[[วัณโรค]] เมื่อวันที่ [[22 เมษายน]] [[พ.ศ. 2408]] ทั้งนี้ก่อนสิ้นพระชนม์ยังมีพระประสงค์ให้เจ้าหญิงทรงหมั้นกับแกรนด์ดยุกอเล็กซานเดอร์ ซึ่งต่อมาคือ [[สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่อะเลคซันดร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย|สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่อะเลคซันดร์ที่ 3]] พระอนุชาแทน เจ้าหญิงดักมาร์ทรงเสียพระทัยมากเมื่อพระคู่หมั้นสิ้นพระชนม์ พระองค์ทรงพระทัยสลายมากเมื่อเสด็จกลับสู่มาตุภูมิ พระประยูรญาติต่างทรงรู้สึกเป็นห่วงสุขภาพของเจ้าหญิง พระองค์ททรงรู้สึกเกี่ยวพันกับประเทศรัสเซียและนึกถึงประเทศที่ยิ่งใหญ่อยู่ไกลโพ้นที่จะเป็นบ้านใหม่ของพระองค์ การสูญเสียครั้งใหญ่นี้ทำให้ทรงใกล้ชิดกับพระชนกและชนนีของแกรนด์ดยุกนิกซา และทรงได้รับพระราชหัตถเลขาจากสมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 2 ซึ่งเนื้อความในนั้นเป็นคำปลอบใจจากพระจักรพรรดิ พระองค์ตรัสกับเจ้าหญิงด้วยความรักใคร่ว่าพระองค์ทรงหวังว่าเจ้าหญิงจะยังคงคิดว่าเป็นสมาชิกในพระราชวงศ์รัสเซียอยู่<ref> Empress Marie Feodorovna's Favorite Residences in Russia and in Denmark, p.55 </ref> ในเดือน[[มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2409]] เมื่อแกรนด์ดยุกอเล็กซานเดอร์เสด็จเยือนประเทศเดนมาร์ก ทรงขออภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงดักมาร์ ทั้งสองพระองค์ประทับอยู่ในห้องของเจ้าหญิงเพื่อดูรูปต่างๆ ด้วยกัน<ref> A Royal Family, pp.171-172 </ref>
[[ไฟล์:Nicholas II of Russia as a child with his mother.jpg|thumb|180px|left|เจ้าหญิงมาเรียและเจ้าชายนิคกี้]]
 
บรรทัด 60:
แกรนด์ดยุกอเล็กซานเดอร์และแกรนด์ดัชเชสมารีเยีย เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย มีพระโอรสหกพระองค์และพระธิดาสองพระองค์<ref>{{cite web | author= Paul Theroff| year=2007 | title= "Russia" | work=An Online Gotha| url=http://pages.prodigy.net/ptheroff/gotha/russia.html | accessdate= 22 สิงหาคม พ.ศ. 2550}}</ref> ดังนี้
[[ไฟล์:1888._Семья_императора_Александра_III.jpg|thumb|200px|แกรนด์ดัชเชสมารีเยีย เฟโอโดรอฟนาและพระราชวงศ์]]
* '''[[สมเด็จพระเจ้าซาร์จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย|สมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 2 แห่งรัสเซีย]]''' ([[18 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2411]] - [[17 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2461]])
** เสด็จขึ้นครองราชสมบัติสืบต่อพระบรมราชชนก เมื่อวันที่ [[1 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2437]] และทรงสละราชสมบัติ เมื่อวันที่ [[28 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2461]]
** ทรงอภิเษกสมรสกันในวันที่ [[26 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2437]] ณ โบสถ์หลวง พระราชวังฤดูหนาว กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก กับ [[จักรพรรดินีมารีเยีย อะเลคซันโดรฟนาแห่งรัสเซีย|เจ้าหญิงวิกตอเรีย อลิกซ์ เฮเลนา หลุยส์ เบียทริซแห่งเฮสส์และไรน์]] ([[6 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2415]] - [[17 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2461]]) หลังจากการเข้ารีตในศาสนจักรออร์โธด็อกซ์รัสเซีย ทรงเปลี่ยนพระนามเป็น '''แกรนด์ดัชเชสอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย''' เมื่อวันที่ [[2 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2437]]
บรรทัด 80:
== จักรพรรดินีแห่งรัสเซีย ==
 
ในตอนเช้าของวันที่ [[13 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2424]] [[สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่อะเลคซันดร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย|สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่อะเลคซันดร์ที่ 2]] ขณะมีพระชนมพรรษา 62 พรรษา ทรงถูกปลงพระชนม์ในขณะเสด็จกลับมายังพระราชวังฤดูหนาวจากการตรวจแถวทหาร ต่อมาแกรนด์ดัชเชสมาเรียได้ทรงบรรยายลงในสมุดบันทึกถึงความบาดเจ็บที่พระจักรพรรดิทรงได้รับเมื่อถูกนำกลับมายังพระราชวัง "พระเพลาทั้งสองข้างของพระองค์ถูกระเบิดอย่างรุนแรง และเปิดขึ้นมาถึงพระชานุ พระโลหิตไหลออกมามากมาย ประมาณครึ่งหนึ่งของฉลองพระบาทบู๊ตข้างขวา เหลืองแต่พระบาทขวาเพียงข้างเดียว"<ref> A Royal Family, p.175 </ref> สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 2 เสด็จสวรรคตในอีกไม่กี่ชั่วโมงต่อมา แม้ว่าประชาชนจะไม่รักใครในพระจักรพรรดิองค์ใหม่ แต่ก็ชื่นชอบในสตรีหมายเลขหนึ่งองค์ใหม่อย่างมาก ดังที่บุคคลร่วมสมัยเดียวกับพระองค์กล่าวว่า "เป็นพระจักรพรรดินี อย่างแท้จริง" พระองค์เองทรงไม่พอพระทัยกับพระราชสถานะใหม่เท่าใดนัก ในสมุดบันทึกส่วนพระองค์ทรงเขียนว่า "ช่วงเวลาที่สุขและสงบที่สุดของเราหมดสิ้นลงแล้ว สันติสุขและความเงียบสงบมลายหายไปแล้ว ตอนนี้เราคงจะห่วงแต่เพียงซาชา(ซาชา คือพระนามลำลองที่ทรงเรียกสมเด็จพระราชสวามี จักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3)เท่านั้น"<ref> ibid p.176 </ref>
 
สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่อะเลคซันดร์ที่ 3 และสมเด็จพระจักรพรรดินีมาเรียนีมารีเยียทรงเข้าพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเมื่อวันที่ [[27 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2426]] ณ [[พระราชวังเครมลิน]] ที่[[กรุงมอสโก]] เพียงก่อนงานพิธีบรมราชาภิเษก การสบคบคิดวางแผนร้ายครั้งใหญ่ก็ถูกเปิดโปง ซึ่งทำให้การเฉลิมฉลองเงียบเหงาหดหู่ แต่ก็ยังมีแขกเหรื่อจำนวนกว่าแปดพันคนมาร่วมพระราชพิธีอันงามเลิศนี้ เนื่องมาจากภัยอันตรายต่อสมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3 และสมเด็จพระจักรพรรดินีมาเรีย ภายหลังงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก นายพลเชเรวิน ซึ่งเป็นหัวหน้าตำรวจรักษาความปลอดภัย ก็เร่งเร้าให้สมเด็จพระจักรพรรดิและครอบครัวเสด็จแปรพระราชฐานไปยัง[[พระราชวังกัตชินา]] ซึ่งเป็นที่ประทับอันปลอดภัยมากกว่า โดยตั้งอยู่ 50 กิโลเมตรนอกกรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก พระราชวังหลังใหญ่นี้มีห้องหับราวเก้าร้อยห้องและสร้างขึ้นในสมัย[[สมเด็จพระจักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย|สมเด็จพระจักรพรรดินีนาถแคทเธอรีนที่ 2]] พระราชวงศ์โรมานอฟได้ให้ความสนใจกับคำแนะนำดังกล่าวนี้ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3 และสมเด็จพระจักรพรรดินีมาเรียประทับอยู่ที่พระราชวังกัตชินาเป็นเวลาสิบสามปีและทรงเลี้ยงดูพระโอรสพระธิดาจนเจริญพระชนม์ในพระราชวังแห่งนี้ด้วย
 
ด้วยการคุ้มกันอย่างแน่นหนา สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3 และสมเด็จพระจักรพรรดินีมาเรียเสด็จจากพระราชวังกัตชินาเป็นครั้งคราวเพื่อไปยังเมืองหลวงในการทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจทางพิธีการต่างๆ สมเด็จพระจักรพรรดินีทรงโปรดงานเลี้ยงเต้นรำและการพบปะสังสรรค์ในพระราชวังฤดูหนาวมาก แต่กระนั้นก็ยังสามารถจัดขึ้นในพระราชวังกัตชินา สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ทรงเคยร่วมสนุกกับนักดนตรี แม้ว่าภายหลังจะทรงส่งกลับทีละคน เมื่อสิ้งนี้ได้เกิดขึ้น สมเด็จพระจักรพรรดินีมาเรียทรงทราบดีว่างานเลี้ยงได้สิ้นสุดลงแล้ว<ref> ibid p.179 </ref>
บรรทัด 92:
== พระจักรพรรดินีพันปีหลวง ==
[[ไฟล์:Daughters of King Christian IX -2 -cropped.JPG|thumb|177px|จากซ้ายไปขวา:[[เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร]],[[อเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักร]],พระจักรพรรดินีมาเรีย ในลอนดอน ปี [[พ.ศ. 2448]]]]
[[สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่อะเลคซันดร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย|สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่อะเลคซันดร์ที่ 3]] เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ [[1 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2437]] ณ พระราชวังลิวาเดีย ที่ประทับตากอากาศบนแหลมไครเมีย ขณะมีพระชนมพรรษาได้ 49 พรรษา สมเด็จพระจักรพรรดินีมาเรียทรงเขียนลงในสมุดบันทึกส่วนพระองค์ว่า "เราเสียใจและท้อใจอย่างที่สุด แต่เมื่อเราเห็นรอยยิ้มที่เปี่ยมสุขและความสงบบนใบหน้าของเขาตามมานั้น มันก็ทำให้เราเข้มแข็งมากขึ้น"<ref> ibid p.185 </ref> ในระยะเวลาที่ไม่สามารถปลอบโยนได้ของสมเด็จจักรพรรดินีมาเรีย เจ้าหญิงอเล็กซานดรา พระเชษฐภคินีและ[[เจ้าชายแห่งเวลส์]] (ต่อมาคือ [[สมเด็จพระราชาธิบดีเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร|พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7]]) พระเชษฐภรรดา(พี่เขย)ก็ได้เสด็จพระราชดำเนินมายังประเทศรัสเซียในอีกไม่กี่วันต่อมา เจ้าชายแห่งเวลส์ทรงวางกำหนดการพระราชพิธีพระบรมศพของสมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3 และพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสสำหรับ[[ซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย|สมเด็จพระจักรพรรดินิโคลัสที่ 2]] องค์พระประมุขแห่งรัสเซียพระองค์ใหม่กับเจ้าหญิงอลิกซ์
 
[[เจ้าชายเฟลิกซ์ ยูซูปอฟ]] พระนัดดาเขยในพระจักรพรรดินีมาเรีย ทรงบันทึกว่า พระองค์ทรงมีอิทธิพลอย่างมากในพระราชวงศ์ เซอร์เกย์ วิตต์ก็ได้ชื่นชมถึงไหวพริบปฏิภาณและทักษะทางการทูตของพระองค์ แต่กระนั้นพระองค์ทรงเข้ากับสมเด็จพระจักรพรรดินีอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย พระสุณิสาได้ไม่ดีนัก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะทำให้ต้องทรงรับผิดชอบกับความเศร้าโศกที่ประดังเข้ามาในครอบครัวของสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลัส พระราชโอรสของพระองค์
 
ทันที่การเสด็จสวรรคตของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่อะเลคซันดร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย|สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่อะเลคซันดร์ที่ 3]] ผ่านพ้นไป สมเด็จพระจักรพรรดินีมาเรียนีมารีเยีย ซึ่งบัดนี้ทรงกลายเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงแห่งรัสเซียทรงมีมุมมองอนาคตที่สดใสมากกว่าเดิม ดังที่ตรัสว่า "ทุกสิ่งทุกอย่างจะราบรื่นดี" พระองค์ประทับอยู่ในประเทศรัสเซียมาเป็นเวลายี่สิบแปดปีแล้ว โดยช่วงสิบสามปีทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีเอกอัครมเหสี และในอีกสามสิบสี่ปีความเป็นม่ายยังคงรอพระองค์อยู่ ส่วนในสิบปีสุดท้ายเป็นการลี้ภัยอยู่นอกประเทศในมาตุภูมิ ในตอนสิ้นเดือน[[พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2437]] สมเด็จพระจักรพรรดินีมาเรียทรงย้ายไปประทับที่[[พระราชวังอานิชคอฟ]] ใน[[เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก|กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก]] จนกระทั่งการปฏิวัติเริ่มขึ้น พระองค์ทรงดำรงพระชนม์และปลอบพระทัยพระองค์เองได้อย่างเสรี และเมื่อเวลาผ่านเลยไปความกลัวได้ลดน้อยถอยลง ในฐานะที่ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีและพระบรมราชชนนีพันปีหลวง พระองค์ไม่ได้ทรงตกเป็นเป้าหมายทางการเมืองสำหรับพวกมือสังหารในลัทธิสังคมนิยมและอนาธิปไตยอีกต่อไป
 
== การปฏิวัติและลี้ภัย ==