ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทวีปแอนตาร์กติกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8511200 สร้างโดย 171.98.19.10 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ปรับปรุงถ้อยคำและรายละเอียดการอ้างอิงให้สื่อความชัดเจน
บรรทัด 2:
| ชื่อ = แอนตาร์กติกา<br />Antarctica
| ภาพ = [[ไฟล์:Antarctica (orthographic projection).svg|220px]]
| พื้นที่ = 1314,720107,000637 [[ตารางกิโลเมตร|ตร.กม.]] (อันดับที่ 5)<br/>โดย 280,000 ตร.กม. ปราศจากน้ำแข็ง
| ประชากร = ≈135 คน (ถาวร)<br />≈5,000 (ชั่วคราว)<br /> (อันดับที่ 7)
| เดมะนิม = ชาวแอนตาร์กติกา (Antarctican)
บรรทัด 11:
}}
 
[[ไฟล์:Antarctica_6400px_from_Blue_Marble.jpg|thumb|right|200260px|ภาพถ่ายดาวเทียมของทวีปแอนตาร์กติกา]]
 
'''แอนตาร์กติกา''' ({{lang-en|Antarctica}} {{audio|en-us-Antarctica.ogg| /æntˈɑːrktɪkə/|help=no}}) เป็น[[ทวีป]]ที่อยู่ใต้สุดของ[[โลก]]ตั้งอยู่ใน[[ภูมิภาคแอนตาร์กติก]]ใน[[ซีกโลกใต้]]และเป็นที่ตั้ง[[ขั้วโลกใต้]]ทางภูมิศาสตร์ เกือบทั้งหมดอยู่ใน[[วงกลมแอนตาร์กติก]]และล้อมลอบรอบด้วย[[มหาสมุทรใต้]] มีพื้นที่ประมาณ 14,000,000 ล้านตารางกิโลเมตร เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 5 ของโลกใหญ่กว่า[[ทวีปออสเตรเลีย]]ถึง 2 เท่า พื้นที่ 98% ของทวีปปกคลุมด้วยน้ำแข็งหนาเฉลี่ย 1.9 กิโลเมตร<ref name="Bedmap2">{{cite journal | author1=British AntarcticP. SurveyFretwell| author2= J. L. Bamber| author3= R. Bell| display-authors=1| title= Bedmap2: improved ice bed, surface and thickness datasets for Antarctica | journal= The Cryosphere journal |page pages=390 375-393| url= http://www.the-cryosphere.net/7/375/2013/tc-7-375-2013.pdf | format= PDF| doi= 10.5194/tc-7-375-2013|accessdate publication-date= 28 February 2013| access-date= 6 January 2014}}</ref> ซึ่งครอบคลุมพื้นที่เกือบจะถึงทั้งหมดเว้นแต่ส่วนเหนือสุดของ[[คาบสมุทรแอนตาร์กติก]]
 
โดยค่าเฉลี่ยแล้วแอนตาร์กติกาเป็นทวีปที่หนาวที่สุด แห้งแล้งที่สุด ลมแรงที่สุดและมีความสูงโดยเฉลี่ยมากที่สุด<ref name=dnaclimate>{{cite web|archiveurl archive-url= https://web.archive.org/web/20161113152357/http://www.dna.gov.ar/la-ant%C3%A1rtida |archivedate archive-date= 13 November 2016 | url= http://www.dna.gov.ar/la-ant%C3%A1rtida | title= La Antártida| |publisher= Dirección Nacional del Antártico| |language= Spanish| |accessdateaccess-date= 13 November 2016 |deadurl= |df= }}</ref> แอนตาร์กติกาเป็นทะเลทรายที่มี[[หยาดน้ำฟ้า]]เฉลี่ย 200 มิลลิเมตรต่อปีตามแนวชายฝั่งและพื้นที่ภายใน<ref>{{cite web| last=Joyce Joyce| first= C. Alan | date= 18 January 2007 | title= The World at a Glance: Surprising Facts | work= The World Almanac | url= http://www.worldalmanac.com/blog/2007/01/the_world_at_a_glance_surprisi.html |accessdate access-date= 7 February 2009 |archiveurl archive-url= https://web.archive.org/web/20090304001123/http://www.worldalmanac.com/blog/2007/01/the_world_at_a_glance_surprisi.html |archivedate archive-date= 4 March 2009 |deadurl=yes }}</ref> แม้ว่าช่วงที่หนาวสุดของปีจะมีอุณหภูมิเฉลี่ย −63 °C แต่อุณหภูมิอาจต่ำถึง −89.2 °C (และอาจถึง -94.7 ° C หากวัดจากอากาศ<ref>{{cite web| title= Coldest temperature ever recorded on Earth in Antarctica: -94.7C (−135.8F)| url= https://www.theguardian.com/world/2013/dec/10/coldest-temperature-recorded-earth-antarctica-guinness-book| website= The Guardian|accessdate publication-date= 10 December 2013| access-date= 12 July 2017}}</ref>) บางสถานที่มีคนราว 1,000 ถึง 5,000 คนอาศัยในสถานีวิจัยที่กระจายอยู่ทั่วที้งทวีปตลอดทั้งปี สิ่งมีชีวิตในแอนตาร์กติกาจะเป็นพวก[[สาหร่าย]], [[แบคทีเรีย]], [[เห็ดรา]], [[พืช]], [[โพรทิสต์]]และ[[สัตว์]]บางชนิดเช่นตัวเห็บ, ตัวไร, [[นีมาโทดา|หนอนตัวกลม]], [[เพนกวิน]], [[วงศ์ใหญ่สัตว์ตีนครีบ|สัตว์ตีนครีบ]]และ[[หมีน้ำ]]ส่วนพืชก็จะเป็นพวก[[ทันดรา]]
 
แม้ว่ามีตำนานเล่าขานเกี่ยวกับการมีอยู่ของดินแดนใต้ตั้งแต่ยุคโบราณ แอนตาร์กติกาถูกระบุว่าเป็นดินแดนสุดท้ายบนโลกในประวัติศาสตร์ที่ถูกค้นพบ เพราะไม่มีใครเคยพบเลยจนกระทั่ง พ.ศ. 2363 นักสำรวจชาวรัสเซีย[[เฟเบียน ก็อทลีป ฟอน เบลลิ่งเชาเซน]]และ[[มิคาอิล ลาซาเรฟ]]ที่อยู่บน[[Vostok (sloop-of-war)|เรือสลุบ''วอสตอค'']]และ[[Mirny (sloop-of-war)|เรือสลุบ''เมอร์นีย์'']]ได้สังเกตเห็น[[หิ้งน้ำแข็งฟิมโบล]]แต่ก็ไม่ได้สนใจเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เป็นมิตรต่อมนุษย์ ขาดแคลนทรัพยากรในการสำรวจและความห่างไกลของพื้นที่ ต่อมาพ.ศ. 2438 ทีมสำรวจชาวนอร์เวย์ได้รับการยืนยันการมาเยือนดินแดนแห่งนี้เป็นครั้งแรก
 
ทวีปแอนตาร์กติกาเป็น[[ดินแดนใต้การปกครองร่วม]]โดยพฤตินัยตาม[[ดินแดนใต้การปกครองร่วม (กฎหมายระหว่างประเทศ)|กฎหมายระหว่างประเทศ]]และอยู่ภายใต้การควบคุมของ[[ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก]]ที่ลงนามครั้งแรกโดย 12 ประเทศใน พ.ศ. 2502 และตามด้วยการลงนามอีกเพิ่ม 38 ประเทศ ระบบสนธิสัญญานี้ห้ามมิให้มีการทำเหมืองแร่ กิจกรรมทางทหาร ทดลองระเบิดนิวเคลียร์และการกำจัดกากนิวเคลียร์ แต่จะสนับสนุนการวิจัยทางวิทยาศาสตร์และปกป้องชั้นโอโซนของทวีป ทำให้มีการทดลองอย่างต่อเนื่องโดนนักวิทยาศาสตร์ 4,000 คนจากหลายประเทศบนทวีปนี้
 
== นิรุกติศาสตร์ ==
ชื่อแอนตาร์กติกา (Antarctica) เป็น[[การถอดเป็นอักษรโรมัน]]จากคำผสมประสมภาษากรีกคำว่า ἀνταρκτική (antarktiké) ซึ่งเป็นคำนามเพศหญิงของ [[:en:wikt:ἀνταρκτικός|ἀνταρκτικός]] (antarktikós คำนามเพศชาย)<ref>{{cite book |last1=Liddell |first1=Henry George |last2=Scott |first2=Robert |editor-last=Crane |editor-first=Gregory R. |contribution=Antarktikos |title=A Greek–English Lexicon |series=Perseus Digital Library |publisher=Tufts University |url=http://www.perseus.tufts.edu/hopper/text?doc=Perseus%3Atext%3A1999.04.0057%3Aentry%3D%239514 |accessdate=18 November 2011}}</ref> มีความหมายว่า "ตรงข้ามกับ[[อาร์กติก]]" หรือ "ตรงข้ามกับ[[ทิศเหนือ]]"<ref>{{cite book | last=Hince Hince| first=Bernadette Bernadette| date=2000 2000| title= The Antarctic Dictionary | publisher= CSIRO Publishing | isbn= 978-0-9577471-1-1| oclc= 869026184| page=6 6| url= https://books.google.com/?id=lJd8_owUxFEC&pg=PA6&lpg=PA6&dq=antarctica+opposite+of+north+greek}}</ref>
 
350 ปีก่อนคริสต์ศักราช[[อาแอริสโตเติลสตอเติล]]เขียนเกี่ยวกับภูมิภาคแอนตาร์กติกลงในหนังสืออุตุนิยมวิทยาของเขา<ref>{{Cite book| author= Aristotle.| [url=http://classics.mit.edu/Aristotle/meteorology.2.ii.html| title= Meteorologica.]| Bookvolume= II,| department= Part 5.| orig-year= 350 BC.| Translatedtranslator-last= byWebster| E.translator-first= Webster.Erwin Wentworth| place= Oxford:| publisher= Clarendon Press,| publication-date= 1923.| page= 140| pp.oclc= 1036675439}}</ref>, [[Marinus of Tyre|มารินัส ออฟ ไทเออร์]]ได้ใช้ชื่อนี้ใน[[แผนที่โลก]]ที่ไม่ได้รับการดูแลตั้งแต่ศตวรรษที่ 2 ของเขา ซึ่งถูกพบอยู่ในสภาพไม่ได้ดูแลรักษา, นักประพันธ์ชาวโรมัน[[Gaius Julius Hyginus|ไฮจีนัส]]และ[[Apuleius|อพูเลียส]] (คริสต์ศตวรรษที่ 1-2) ใช้คำว่า ''polus antarcticus'' แทนขั้วโลกใต้ซึ่งเป็นการถอดเป็นอักษรโรมันจากชื่อภาษากรีก<ref>{{Cite book | last= Hyginus.| first= Gaius Julius| url= [https://books.google.com/books?id=GlWM1eMefB8C&printsec=frontcover&hl=bg&source=gbs_ge_summary_r&cad=0#v=onepage&q&f=false| title= De astronomia.]| Ed.editor-first= G. Ghislaine| editor-last= Viré.| place= Stuttgart:| publisher= Teubner,| date= 1992.| page= 176| pp.oclc= 622659701| lang= Latin}}</ref><ref>Apuleii.{{Cite book | author= Apuleius| url= [https://books.google.com/books?id=MJ8MAAAAYAAJ&printsec=frontcover&hl=bg&source=gbs_ge_summary_r&cad=0#v=onepage&q&f=false| title= Apuleii Opera omnia.]| Volumenvolume= tertium.| place= London:| publisher= A. J. Valpy,| date= 1825.| page= 544| pp.oclc= 840117244| lang= Latin}}</ref>, ภาษาฝรั่งเศสโบราณรับมาเป็น ''pole antartike'' (ภาษาฝรั่งเศสปัจุบัน ''pôle antarctique'') เขียนอย่างชัดเจนโดยมีหลักฐานใน พ.ศ. 1813 และ[[ภาษาอังกฤษสมัยกลาง]]รับมาต่อเป็นคำว่า '' pol antartik'' ในหนังสือบทความวิชาการโดย[[Geoffrey_Chaucer|เจฟฟรีย์ ชอสเซอร์]] ใน พ.ศ. 1934 (ภาษาอังกฤษปัจจุบัน Antarctic Pole)<ref>G.{{Cite book | last= Chaucer.| first= Geoffrey| url= [http://art-bin.com/art/oastro.html| title= A Treatise on the Astrolabe.]| Approxdate=c. 1391.|lang= Ed.Middle W.English| editor-last= Skeat.| editor-first= Walter William| place= London:| publisher= N. Trübner,& 1872Co.| 188publication-date= pp.1872| ol= 14032283M| oclc= 171715| lccn= 12017813}}</ref>
 
ก่อนที่จะมีความหมายทางภูมิศาสตร์ในปัจจุบัน คำนี้จะเอาไวไว้ใช้เรียกสถานที่ต่าง ๆ ที่อยู่ "ตรงข้ามกับทางเหนือ" เช่นอาณานิคมฝรั่งเศสที่ก่อตั้งขึ้นในบราซิลเป็นเวลาสั้น ๆ ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เรียกว่า "แอนตาร์กติกาฝรั่งเศส" (France Antarctique)
 
ในยุค 1890 [[จอห์น จอร์จ บาร์โธโลมิว]]ชาวสกอตแลนด์ได้ทำแผนที่โดยใช้คำว่าแอนตาร์กติกาเป็นชื่อทวีปครั้งแรก<ref>{{cite web | department= The Bartholomew Archive| title= John George Bartholomew and the naming of Antarctica,| periodical= CAIRT IssueNewsletter 13,of Nationalthe LibraryScottish ofMaps Scotland,Forum| Julyissue= 2008,13| ISSNpages= 14774-4186,6| andpublisher= alsoNational {{citeLibrary webof Scotland|title date=The BartholomewJuly Archive2008| issn= 1477-4186| url=http https://digitalwww.nls.uk/bartholomewmedia/highlights1008031/antarcticacairt13.htmlpdf| format= PDF}}</ref>
 
== การศึกษาวิจัยในขั้วโลกใต้ ==
บรรทัด 34:
 
=== ศูนย์วิจัยที่ทวีปแอนตาร์กติกา ===
ดินแดนหลาย ๆ แห่งในทวีปแอนตาร์กติกาถูกประเทศต่าง ๆ อ้างกรรมสิทธิ์ครอบครอง เช่น [[ประเทศอาร์เจนตินา]], [[ชิลี]], [[ออสเตรเลีย]], [[นิวซีแลนด์]], [[สหราชอาณาจักร]] เป็นต้น และในดินแดนเหล่านี้ก็จะมีศูนย์วิจัยของประเทศต่าง ๆ ตั้งอยู่ ทั้งทวีปแอนตาร์กติกามีศูนย์วิจัยของประเทศต่าง ๆ มากกว่า 20 ประเทศ จำนวน 60 แห่ง ในช่วงฤดูหนาวจะมีนักวิจัยทำงานอยู่ที่นี่ประมาณ 1,000 คน และจะเพิ่มเป็น 4,000 คนในฤดูร้อน ในศูนย์วิจัยแมกเมอร์โดที่อยู่ในเขตที่นิวซีแลนด์อ้างกรรมสิทธิ์ เป็นศูนย์วิจัยและชุมชนที่ใหญ่ที่สุดในแอนตาร์กติกา สามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้มากถึง 1,000 คน
 
== ภูมิประเทศ ==
[[ไฟล์:Flow of Ice Across Antarctica.ogv|thumb|300px|การเคลื่อนไหวของพืดน้ำแข็งบนทวีปแอนตาร์กติกา]]
แอนตาร์กติกาเป็นทวีปที่อยู่ทางทิศใต้สุดของโลก โดยตั้งอยู่ในเขต[[แอนตาร์กติกเซอร์เคิล]]รอบ[[ขั้วโลกใต้]] ล้อมโดย[[มหาสมุทรใต้]] มีพื้นที่มากกว่า 14 ล้านตารางกิโลเมตร เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 5 ของโลก มีชายฝั่งยาว 17,968 กิโลเมตร<ref name=worldfactbook>[{{Cite web | url= https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/ay.html| title= Antarctica]| จากเวิลด์แฟกบุกpublisher= เรียกข้อมูลวันที่Central 13Intelligence Agency| department= The World Factbook| access-07-2550date= {{en13 July icon2007}}</ref>
 
ประมาณร้อยละ 98 ของแอนตาร์กติกาถูกปกคลุมด้วย[[พืดน้ำแข็งแอนตาร์กติกา]] [[พืดน้ำแข็ง]]หนาเฉลี่ย 1.6 กิโลเมตร ทวีปนี้มีน้ำแข็งถึงราวร้อยละ 90 ของน้ำแข็งทั้งหมดบนโลก ทำให้มี[[น้ำจืด]]ประมาณร้อยละ 70 ของโลก ถ้าน้ำแข็งทั้งหมดละลายแล้ว ระดับน้ำทะเลจะสูงขึ้นประมาณ 61 เมตร<ref name="howstuffworks"> {{cite web| first= Marshall| last= Brain| url= http://science.howstuffworks.com/question473.htm| title=How StuffIf Works:the polar ice caps melted, how much would the oceans rise?| publisher= howstuffworks.com|accessdate date=13 21 September 2000| access-07-2550}}date= 13 {{enJuly icon2007}}</ref>
 
จุดที่สูงที่สุดของทวีปคือ[[ยอดเขาวินสันแมสซิฟ]] มีความสูง 4,892 เมตร ตั้งอยู่ใน[[เทือกเขาเอลส์เวิร์ท]] ถึงแม้ว่าแอนตาร์กติกาจะมี[[ภูเขาไฟ]]จำนวนมาก แต่มีเพียงแห่งเดียวที่ทราบแน่ชัดว่ายังคงคุกรุ่นอยู่คือ[[ภูเขาไฟเอเรบัส]]บน[[เกาะรอสส์]] ในปี[[พ.ศ. 2547]] นักสำรวจ[[สหรัฐอเมริกา|ชาวอเมริกัน]]และ[[ประเทศแคนาดา|แคนาดา]]ค้นพบภูเขาไฟใต้น้ำใน[[คาบสมุทรแอนตาร์กติก]] โดยหลักฐานแสดงให้เห็นว่าภูเขาไฟนี้อาจยังคุกรุ่นอยู่เช่นกัน<ref> {{cite web | url= http://www.nsf.gov/news/news_summ.jsp?cntn_id=100385| title= Scientists Discover Undersea Volcano Off Antarctica| publisher= United States National Science Foundation|accessdate date=13 20 May 2004| access-07-2550}}date= 13 {{enJuly icon2007}}</ref>
 
== อาณาเขตแอนตาร์กติกา ==
เส้น 143 ⟶ 144:
|1939-1945
|{{flag|เยอรมนี}}
|{{flagicon image|NaziFlagge GermanyReichskolonialbund2.svg}} [[นิวสวาเบีย]]
|Neuschwabenland
|44°38'ตะวันออกถึง 20°ตะวันตก