ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกาะคริสต์มาส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 38:
| leader_title2 = [[Governor-General of Australia|ผู้สำเร็จราชการ]]
| leader_name2 = [[เดวิด เฮอร์ลีย์]]
| leader_title3 = [[List of administrative heads of Christmas Island|ผู้อำนวยการฝ่ายบริหาร]]
| leader_name3 = [[เนทาชา กริกส์]]
| leader_title4 = [[Shire of Christmas Island#Presidents of the Shire of Christmas Island|ประธานเขตบริหาร]]
บรรทัด 133:
วันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1942 มีการโจมตีเรือขนส่งสินค้า ''นิซเซมารุ'' ของญี่ปุ่นด้วยตอร์ปิโดบริเวณท่าเรือ<ref>{{cite web |last=Cressman |first=Robert J. |url=http://www.ibiblio.org/hyperwar/USN/USN-Chron/USN-Chron-1942.html |title=The Official Chronology of the U.S. Navy in World War II Chapter IV: 1942 |work=Hyperwar/ |access-date=16 July 2011 |archive-url=https://web.archive.org/web/20110820205155/http://www.ibiblio.org/hyperwar/USN/USN-Chron/USN-Chron-1942.html |archive-date=20 August 2011 |url-status=live }}</ref> ทำให้จำนวนฟอสเฟตที่ส่งไปยังญี่ปุ่นมีน้อยมาก เดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1943 ประชากรบนเกาะกว่าร้อยละ 60 ถูกส่งไปยังค่ายกักกัน[[ซูราบายา]] เหลือคนบนเกาะคือชาวจีนและมลายู 500 คน และญี่ปุ่น 15 คน เอาชีวิตรอดด้วยความแร้นแค้น กระทั่งเดือนตุลาคม ค.ศ. 1945 เรือ ''[[เฮชเอ็มเอส รอเทอร์]]'' เรือรบของสหราชอาณาจักรเข้ามาที่เกาะและยึดเกาะคริสต์มาสกลับมาไว้ในการครอบครองโดยสหราชอาณาจักรอีกครั้งหนึ่ง<ref>Public Record Office, England War Office and Colonial Office Correspondence/Straits Settlements.</ref><ref>{{cite journal |author=J. Pettigrew |title=Christmas Island in World War II |publisher=Australian Territories January 1962}}</ref><ref>Interviews conducted by J G Hunt with Island residents, 1973–77.</ref><ref>Correspondence J G Hunt with former Island residents, 1973–79.</ref>
 
หลังสิ้นสงครามจึงได้มีการจับกุมกบฏทั้ง 7 คน และถูกดำเนินคดีโดย[[ศาลทหาร]]ในสิงคโปร์ ค.ศ. 1947 มีการตัดสินให้[[ประหารชีวิต]]กบฏ 5 คน ต่อมารัฐบาลอิสระของอินเดียได้ลดโทษเหลือเพียงจำคุกตลอดชีวิต<ref name=Klemen/>
 
=== ขึ้นกับออสเตรเลีย ===
[[ไฟล์:Poonsaan2.jpg|thumb|ร้านค้าแห่งหนึ่งใน[[ปูนซ้าน]]]]
[[ประเทศออสเตรเลีย]]ทำเรื่องร้องแก่[[สหราชอาณาจักร]] เรื่องการโอนอำนาจอธิปไตยของเกาะคริสต์มาสแก่ประเทศของตน ทางรัฐบาลออสเตรเลียได้ชำระเงิน 20 ล้านดอลลาร์สหรัฐแก่อาณานิคมสิงคโปร์เพื่อชดเชยการสูญเสียรายได้ที่ได้จากการทำเหมือง[[ฟอสเฟต]]<ref>Department of External Affairs in Australia. (1957, May 16): Report from the Australian High Commission in Singapore to the Department of External Affairs in Australia. Singapore: National Archives of Singapore. (Microfilm: NAB 447)</ref> มีพระราชโองการว่าด้วยพระราชบัญญัติเกาะคริสต์มาสของสหราชอาณาจักร ลงวันที่ 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1958 โอนอำนาจอธิปไตยเหนือเกาะคริสต์มาสจากสิงคโปร์ไปยังออสเตรเลียผ่านพระราชโองการที่ประกาศโดยคำแนะนำของคณะองคมนตรี (order-in-council)<ref>{{cite web|url=http://eresources.nlb.gov.sg/newspapers/Digitised/Article/straitstimes19580516.2.20.2.aspx|title=All set for transfer. (1958, May 16)|publisher=The Straits Times, p. 2|access-date=8 August 2015|archive-url=https://web.archive.org/web/20150906024518/http://eresources.nlb.gov.sg/newspapers/Digitised/Article/straitstimes19580516.2.20.2.aspx|archive-date=6 September 2015|url-status=live}}</ref> ร่างพระราชบัญญัติเกาะคริสต์มาสของออสเตรเลียผ่านในเดือนกันยายน ค.ศ. 1958 และเกาะคริสต์มาสกลายเป็นดินแดนของออสเตรเลียอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1958<ref>{{cite web|url=http://eservice.nlb.gov.sg/item_holding_s.aspx?bid=13849897|title=Kerr, A. (2009). A federation in these seas: An account of the acquisition by Australia of its external territories, with selected documents.|publisher=Barton, A.C.T.: Attorney General's Dept, p. 329. (Call no.: R 325.394 KER)|access-date=8 August 2015|archive-url=https://web.archive.org/web/20150903213829/http://eservice.nlb.gov.sg/item_holding_s.aspx?bid=13849897|archive-date=3 September 2015|url-status=live}}</ref>
 
สภาพิจารณาเครือจักรภพ ค.ศ. 1573 ประกาศแต่งตั้งดอนัลด์ อีแวน นิกเกลส์ (Donald Evan Nickels) เป็นผู้อำนวยการฝ่ายบริหารอย่างเป็นทางการของดินแดนเกาะคริสต์มาส เมื่อวันที่ 9 กันยายน ค.ศ. 1958<ref>{{cite web|url=http://catalogue.nla.gov.au/Record/1200578|title=Mr D. E. Nickels and Mrs Nickels interviewed by Jan Adams in the Christmas Island life story oral history project|publisher=National Library of Australia|access-date=13 September 2013|archive-url=https://web.archive.org/web/20140317123411/http://catalogue.nla.gov.au/Record/1200578|archive-date=17 March 2014|url-status=live}}</ref> ค.ศ. 1997 เกาะคริสต์มาสและ[[หมู่เกาะโคโคส]]ถูกรวมเป็น[[ดินแดนมหาสมุทรอินเดียของออสเตรเลีย]] (Australian Indian Ocean Territories)<ref>{{Cite journal | publisher = World Statesmen | url = http://www.worldstatesmen.org/Christmas_Island.html | title = Christmas Island | access-date = 5 July 2010 | archive-url = https://web.archive.org/web/20140208070838/http://worldstatesmen.org/Christmas_Island.html | archive-date = 8 February 2014 | url-status = live }}</ref>
 
มีการจัดตั้งนิคม[[ซิลเวอร์ซิตี]] (Silver City) ช่วง ค.ศ. 1970 ด้วยบ้านเรือนที่สร้างด้วย[[อลูมิเนียม]]เพื่อป้องกันอันตรายจากพายุ[[ไซโคลน]]<ref>{{Cite web |url=http://www.abc.net.au/nature/island/ep2/about4.htm |title=Island Life – Christmas Island – About |access-date=26 June 2013 |archive-url=https://web.archive.org/web/20020208135014/http://www.abc.net.au/nature/island/ep2/about4.htm |archive-date=8 February 2002 |url-status=dead |df=dmy-all }}</ref> ช่วง[[แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547|แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย ค.ศ. 2004]] เกาะคริสต์มาสไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต หากแต่มีนักว่ายน้ำบางคนถูกกวาดลงไปในทะเลห่างจากชายฝั่ง 150 เมตร ก่อนถูกซัดกลับเข้าฝั่ง
 
== ประชากร ==