ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไอคอนสยาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Love Art Sweet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29:
| embedded =
}}
'''ไอคอนสยาม''' ({{lang-en|ICONSIAM}}, ชื่อเดิม: บางกอก เจ้าพระยา ริเวอร์ฟร้อนท์ ไอ-ซิตี้<ref>[http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1368024958 เปิดโปรเจ็กต์3.5หมื่นล.ซีพี-สยาม ดึงซูเปอร์แบรนด์ร่วม/ผุดมิกซ์ยูส95ชั้นริมเจ้าพระยา]</ref>) และ '''ไอซีเอส''' ({{lang-en|ICS}}) เป็นโครงการพัฒนาพื้นที่เชิงพาณิชยกรรมแบบผสมบนพื้นที่ 50 ไร่ริม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] บริเวณซอยเจริญนคร 5 และอีก 5 ไร่บริเวณฝั่งตรงข้าม [[ถนนเจริญนคร]] ใกล้ปากซอยเจริญนคร 4 ในพื้นที่แขวงคลองต้นไทร [[เขตคลองสาน]] [[กรุงเทพมหานคร]] เกิดจากการร่วมมือกันระหว่าง [[สยามพิวรรธน์]], [[เครือเจริญโภคภัณฑ์]] และ แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดิเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชั่น มีพิธีเปิดโครงการในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 โครงการประกอบด้วยอาคารศูนย์การค้าขนาดใหญ่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาจำนวนสองอาคารเชื่อมต่อกัน ซึ่งมีพื้นที่ขายรวมกันมากเป็นอันดับที่ 2 ของประเทศไทย รองจากเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต, อาคารชุดเพื่อการพักอาศัย 2 อาคาร ซึ่งหนึ่งในนั้นเป็น[[รายชื่ออาคารที่สูงที่สุดในประเทศไทย|อาคารที่สูงที่สุดในประเทศไทย]] และอาคารศูนย์การค้าขนาดกลางที่เชื่อมต่อกับอาคารโรงแรม โดยพื้นที่ทั้งหมดเชื่อมต่อกันด้วยถนนภายในโครงการ และสถานี[[รถไฟฟ้าสายสีทอง]]
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 36:
ไอคอนสยามตั้งอยู่ในพื้นที่เดิมของโรงสีสิบเก้า และตลาดศิรินทร์<ref>[https://www.matichon.co.th/entertainment/arts-culture/news_593287 เปิดภาพเก่าย่าน “คลองสาน” ก่อนจะเป็นหอชมเมือง-ไอคอนสยาม อดีตเคยเป็นที่ตั้งโรงสีข้าว]</ref> ซึ่งต่อมาเป็นกรรมสิทธิ์ของ บริษัท สยามอรุณ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด ในเครือศรีกรุงวัฒนา<ref name="icons"/><ref>[http://info.gotomanager.com/news/details.aspx?id=9591 ศรีกรุงวัฒนา กับการกลับมาแบบแหยงๆ ของ "สยามอรุณ" ]</ref> โดยพื้นที่โครงการตั้งอยู่ระหว่าง[[โรงแรมเพนนินซูล่า]] กับโรงแรมมิลเลเนียม ฮิลตัน กรุงเทพ นอกจากนี้ยังอยู่ตรงข้ามกับโรงแรมรอยัลออร์คิดเชอราตัน กรุงเทพ, [[โรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล กรุงเทพ]] และอาคารสำนักงานของ [[กสท โทรคมนาคม]] สาขาบางรัก
 
ไอคอนสยาม มีมูลค่าการลงทุนเมื่อเริ่มโครงการ 35,000 ล้านบาท<ref name="icons">[http://www.icons.co.th/newsdetail.asp?lang=EN&page=newsdetail&newsno=30710 3 เอกชนจับมือลุยโครงการอสังหาฯ ยักษ์]</ref> ต่อมาเพิ่มเป็น 50,000 ล้านบาท<ref name="spiwat">[http://www.siampiwat.com/th/news/6 กำเนิดสัญลักษณ์ใหม่แห่งสยาม สง่างามยิ่งใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา พร้อมสะกดคนทั้งโลก เริ่มก่อสร้างเดินหน้าโครงการ เพิ่มมูลค่าลงทุนรวมเป็น 50,000 ล้านบาท]</ref> และ 54,000 ล้านบาท ตามลำดับ ซึ่งถือว่าเป็นโครงการที่ใช้เงินลงทุนสูงที่สุดในประเทศไทยในขณะนั้น<ref>[https://www.posttoday.com/pr/422866 ‘ไอคอนสยาม’ อภิมหาโครงการเมืองแห่งการใช้ชีวิตสู่โลกอนาคต เปิดความวิจิตรของ 2 อาณาจักรศูนย์การค้าและความบันเทิงแห่งยุค]</ref> ก่อนถูกทำลายสถิติโดยโครงการ[[วัน แบงค็อก]] โดยครึ่งหนึ่งเป็นเงินลงทุนของบริษัทพันธมิตรทั้ง 3 บริษัท ส่วนอีกครึ่งหนึ่งเป็นสินเชื่อที่ [[ธนาคารกรุงศรีอยุธยา]], [[ธนาคารกสิกรไทย]] และ[[ธนาคารธนชาต]] เป็นผู้สนับสนุน ซึ่งผู้ร่วมทุนทั้ง 3 บริษัท ได้วางแผนที่จะเชื่อมโยงโครงการเข้ากับโรงแรม, ศูนย์การค้า และสถานที่ท่องเที่ยวอื่นๆ ริมแม่น้ำเจ้าพระยา โดยความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน<ref name="spiwat"/><ref>[http://www.ryt9.com/s/iq05/1931232 เครือ CP จับมือสยามพิวรรธน์ทุ่มกว่า 5 หมื่นลบ.เปิดไอคอนสยามริมเจ้าพระยา]</ref><ref>[http://stockwatch.manager.co.th/news/detail/9570000074142 2ยักษ์ใหญ่ CP จับมือสยามพิวรรธน์ ผุดอภิมหาโปรเจกต์ “ไอคอนสยาม” มูลค่าลงทุนกว่า 5 หมื่นล้าน]</ref><ref>[http://thanonline.com/index.php?option=com_content&view=article&id=114307:2012-03-27-04-48-22&catid=106:-marketing&Itemid=456 สยามพิวรรธน์ผุดแลนด์มาร์ก]</ref>
 
== พิธีเปิด ==
ไอคอนสยามจัดพิธีเปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 ในชื่อ "มหาปรากฏการณ์งานเปิดเมืองไอคอนสยาม" โดยในช่วงเช้า [[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดโครงการด้วยพระองค์เอง<ref name="kcl" /><ref>[https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=113782536283192&id=100029543373080 คลองสานร่วมตรวจพื้นที่รับเสด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]</ref><ref>[https://www.naewna.com/lady/374704 คุณแหน : 5 พฤศจิกายน 2561]</ref><ref>[http://www.js100.com/en/site/post_share/view/64231 9 พ.ย.2561 พิธีเปิดศูนย์การค้าไอคอนสยาม ถนนเจริญนคร ฝั่งธนบุรี ปิดการจราจรถนนเจริญนครช่วงเช้าถึงเที่ยง]</ref> และในช่วงค่ำได้มีการจัดการแสดงในชุด "โรจนนิรันดร" ที่เป็นการผสมผสานระหว่างนาฏศิลป์ไทยแขนงต่าง ๆต่างๆ และกายกรรมผาดโผน รวมถึงมีการเปิดตัว "เรือสำเภาศรีมหาสมุทร" ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์ลอยน้ำแห่งแรกของประเทศไทย<ref>[https://www.khaosod.co.th/monitor-news/news_1826076 ไอคอนสยาม เปิดพิพิธภัณฑ์ลอยน้ำ เรือศรีมหาสมุทร ครั้งแรกในประเทศไทย]</ref> มีการแสดงแปรขบวนของโดรนจาก[[อินเทล]] จำนวน 1,400 ลำ และการแสดงคอนเสิร์ตของ [[อลิเชีย คีส์]] รวมถึงการแสดงแสง สี เสียง ไปยังอาคารชุดเพื่อการพักอาศัยทั้ง 2 อาคารในโครงการด้วย<ref>[https://www.thairath.co.th/content/1417248 พิธีเปิดไอคอนสยาม ยิ่งใหญ่ตระการตา เซเลบดาราเพียบ]</ref>
 
ในวันที่ 9 พฤศจิกายน มีผู้เข้าร่วมพิธีเปิดจำนวนประมาณ 150,000 คน และในวันที่ 10 พฤศจิกายน ซึ่งเปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าใช้บริการเป็นวันแรก มีจำนวนประชาชนเข้าใช้บริการประมาณ 200,000 คน<ref>[https://positioningmag.com/1196759 เปิดทราฟฟิก 2 วัน ไอคอนสยาม] </ref> นอกจากนี้ในวันเดียวกัน ยังมีมินิคอนเสิร์ตของศิลปินจากซีรีส์ "รักใสใสหัวใจ 4 ดวง" ฉบับประเทศจีน หลังจากการแสดงเปิดตัวโครงการ โดยมีแฟนเพลงเข้าชมจำนวนมาก<ref>http://news.ch3thailand.com/entertainment/81476</ref>
บรรทัด 49:
=== ศูนย์การค้า ===
[[ไฟล์:Apple Store iconsiam bangkok.jpg|thumb|ภายในร้าน[[แอปเปิลสโตร์]]แห่งแรกในประเทศไทย]]
ไอคอนสยาม ประกอบไปด้วยอาคารศูนย์การค้าจำนวน 2 อาคาร คือ '''ไอคอนสยาม''' (ICONSIAM) และ'''ไอคอนลักซ์''' (ICONLUXE) โดยมีพื้นที่เฉพาะส่วนศูนย์การค้ารวม 525,000 ตารางเมตร ตัวอาคารออกแบบโดยได้แรงบันดาลใจจากกระทง, บายศรี และสไบ ประกอบด้วยพื้นที่สำคัญดังนี้
* '''สยามทาคาชิมาย่า''' (Siam Takashiyama) ห้างสรรพสินค้าในกลุ่ม[[ทาคาชิมาย่า]]สาขาแรกในประเทศไทย พื้นที่ 36,000 ตารางเมตร<ref>[http://www.brandage.com/article/7293/ ‘ทาคาชิมายะ’ ห้างญี่ปุ่นแท้ๆ แบบ full-scale แห่งแรกในประเทศไทย ที่ไอคอนสยาม เดือน พ.ย. นี้]</ref><ref>[http://www.bangkokbiznews.com/home/news/pr-center/detail-news.php?id=44902 'ทาคาชิมาย่า' ห้างสรรพสินค้าระดับพรีเมี่ยมจากญี่ปุ่น ผนึกกำลังไอคอนสยาม ตั้งสาขาแลนด์มาร์คระดับโลกแห่งใหม่]</ref> โดยเป็นสาขานอกประเทศญี่ปุ่นที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่ที่สุด ภายในนอกจากจะมีการแบ่งเป็นแผนกต่าง ๆต่างๆ เช่นเดียวกับห้างสรรพสินค้าโดยทั่วไปแล้ว ยังมีศูนย์อาหารโรส ฟู้ด อเวนิว, ตลาดทากะ มาร์เช [[จังหวัดฮกไกโด|ฮอกไกโด]], โดซังโกะ พลาซา และโซนรวมร้านอาหารเอเชีย โรส ไดน์นิ่ง อีกด้วย<ref name="mops">[https://www.marketingoops.com/news/biz-news/iconsiam-open-2/ แค่ 2 เดือนใช้กว่าพันล้าน เทคออฟ ‘ไอคอนสยาม’ สู่ ‘The Next Global Destination’]</ref>
* '''สุขสยาม''' (SOOK Siam) พื้นที่สำหรับนำเสนอผลิตภัณฑ์และวัฒนธรรมไทย<ref>[https://www.prachachat.net/marketing/news-141285 “สุขสยาม” เมืองมหัศจรรย์แห่ง”ไอคอนสยาม” ทุ่ม 700 ล. ชูค้าปลีกใหม่ “Co-Creation” สานวิถีท้องถิ่น]</ref>
* '''[[เซเว่น อีเลฟเว่น]]''' ร้านสะดวกซื้อรูปแบบพรีเมียมแห่งแรกในศูนย์การค้า<ref>[https://www.punpromotion.com/7-eleven-iconsiam/ ICONSIAM กับเซเว่นลับๆ ที่อยู่ในห้าง!]</ref>
* '''[[แอปเปิลสโตร์]]''' (Apple Store) สาขาแรกในประเทศไทย และเป็นสาขาที่สองใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ต่อจาก[[ประเทศสิงคโปร์]]<ref>[https://spin9.me/2018/10/25/apple-store-bangkok-to-open-on-10-nov/ ขึ้นป้ายแล้ว! ร้าน Apple Store กรุงเทพฯ สาขาแรกที่ ICONSIAM เปิด 10 พ.ย. นี้]</ref><ref>[https://www.apple.com/th/retail/iconsiam/ Apple Iconsiam] จากเว็บไซต์[[แอปเปิล (บริษัท)|แอปเปิล]]</ref>
* '''ไอคอนคราฟต์''' (ICONCRAFT) แหล่งรวมงานหัตถศิลป์ และนวัตศิลป์ฝีมือคนไทย โดยความร่วมมือกับ[[กระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)|กระทรวงพาณิชย์]], [[กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)|กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]], [[กระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)|กระทรวงอุตสาหกรรม]] และศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)<ref>[http://www.newswit.com/prop/2018-11-02/35b2168c06cc2daec870eeffb113f082/ ไอคอนสยามเนรมิต #ไอคอนคราฟต์ พื้นที่นำเสนอคุณค่าความเป็นไทยผ่านงานนวัตศิลป์]</ref>
* '''ไอคอน ซีเนคอนิค''' (Icon Cineconic) โรงภาพยนตร์ในเครือ[[เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์]] กรุ๊ป<ref>[https://www.prachachat.net/facebook-instant-article/news-98958 ส่วนผสมใหม่ “เมเจอร์” ดึงคนดูติดจอ…เปิดโรงไม่หยุด]</ref> จำนวน 14 โรง<ref name="mops"/> ในจำนวนนี้มีโรงภาพยนตร์[[ไอแมกซ์]] โฟร์ดีเอ็กซ์ และ[[ดอลบี แอทมอส]] ระบบละ 1 โรง
*'''ทรู ไอคอน ฮอลล์''' (True Icon Hall) ศูนย์ประชุม และโรงมหรสพอเนกประสงค์ ประกอบด้วยโถงประชุมหลัก พื้นที่ 2,775 ตารางเมตร ความจุสูงสุด 2,600 ที่นั่ง และห้องประชุมย่อยอีก 14 ห้อง (ร่วมทุนกับ [[ทรู คอร์ปอเรชั่น]])<ref name="ryt_20181030">[https://www.ryt9.com/s/iq03/2907202 ไอคอนสยามเตรียมเปิดตัว 9 พ.ย.นี้ ชูเป็น Destination ความภูมิใจของความเป็นไทย ดึงดูดต่างชาติเข้าใช้บริการ]</ref>
*'''ไอคอน บาย [[ฟิตเนส เฟิร์สท์]]''' (Icon by Fitness First) สถานออกกำลังกายภายในศูนย์การค้า โดยเป็นฟิตเนส เฟิร์สท์ สาขาใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชีย<ref>[https://brandinside.asia/fitness-first-zone-club-class/ Fitness First ปรับใหญ่ เสริมคอนเซ็ปต์ Zone และ Club Class ขยายฐานลูกค้า]</ref><ref name="extension"/>
* '''ริเวอร์ มิวเซียม แบงค็อก''' (River Museum Bangkok) พิพิธภัณฑ์มาตรฐานสากลแห่งแรกของประเทศไทยที่ตั้งอยู่ภายในศูนย์การค้า โดยได้รับความร่วมมือจาก[[กรมธนารักษ์]] และ[[กรมศิลปากร]]<ref name="ryt_20181030"/><ref>[https://www.moneychannel.co.th/news_detail/24131/7-สิ่งมหัศจรรย์ไม่ควรพลาด-ICONSIAM 7 สิ่งมหัศจรรย์ไม่ควรพลาด ICONSIAM]</ref>