ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีกรุงเทพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ข้อมูลบางส่วนไม่ถูกต้องและเป็นข้อมูลของสถานีหัวลำโพงของรถไฟสายปากน้ำที่ยกเลิกไปเมื่อปี 2503
บรรทัด 48:
[[ไฟล์:Estación de FF.CC., Bangkok, Tailandia, 2013-08-23, DD 01.jpg|thumb|250px|ภายในสถานีรถไฟกรุงเทพ]]
 
'''สถานีรถไฟกรุงเทพ''' หรือที่นิยมมักเรียกผิดกันว่า '''สถานีรถไฟหัวลำโพง''' เป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย และเป็นสถานีที่เก่าแก่ที่สุด เริ่มก่อสร้างขึ้นในปลายรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ในปี [[พ.ศ. 2453]] สร้างเสร็จและเปิดใช้งานเมื่อวันที่ [[25 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2459]] ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ปัจจุบันสามารถเชื่อมต่อกับ[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล]] ได้บริเวณ[[ถนนพระรามที่ 4]] โดยมีรูปแบบของทางเชื่อมต่อทางสถาปัตยกรรมที่กลมกลืนกับรถไฟฟ้ามหานคร
 
สถานีกรุงเทพก่อสร้างในลักษณะ[[โดม]]สไตล์อิตาเลียนผสมกับศิลปะแบบ[[เรอเนสซองซ์]] คล้ายกับ[[สถานีรถไฟแฟรงก์เฟิร์ต]]ใน[[ประเทศเยอรมนี]] ประดับด้วย[[หินอ่อน]]และเพดานมี[[การสลักลายนูน]]ต่าง ๆ เป็นหลัก โดยมีนาฬิกาขนาดใหญ่รัศมี 80 เซนติเมตร ตั้งอยู่กลางสถานีรถไฟเป็นสัญลักษณ์แห่งหนึ่ง
บรรทัด 71:
|seealso = ย่านชานเมือง
}}
สถานีนี้เริ่มสร้างในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 ในปี [[พ.ศ. 2453]] สร้างเสร็จและเริ่มใช้งาน วันที่ [[25 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2459]] ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 สถานีรถไฟกรุงเทพ เดิมเป็นสถานีที่ให้บริการทั้งด้านการขนส่งสินค้า และขนส่งมวลชน ต่อมาการขยายตัวในด้านการโดยสารและขนส่งสินค้ามีมากขึ้น แต่ด้วยพื้นที่อันจำกัดเพียง 120 ไร่ จึงทำให้ต้องย้ายกิจการขนส่งสินค้าไปอยู่ที่ย่านสินค้าพหลโยธิน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2503 และทำการปรับปรุงสถานีรถไฟกรุงเทพให้เป็นสถานีรถไฟสำหรับบริการด้านขนส่ง มวลชนเพียงอย่างเดียว เพื่อสามารถรองรับผู้โดยสารจากทั่วทุกสารทิศของประเทศ
'''สถานีรถไฟกรุงเทพ''' หรือที่นิยมเรียกว่า '''สถานีรถไฟหัวลำโพง''' ซึ่งคำว่า '''หัวลำโพง''' มักสันนิษฐานตามข้อสันนิษฐานของ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ว่าตั้งชื่อตามชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งคือ ต้นลำโพง ซึ่งเคยมีมากในบริเวณนี้ จึงเรียกว่า ทุ่งหัวลำโพง หรือ ทุ่งวัวลำพอง ซึ่งแต่เดิมคงเคยเป็นที่เลี้ยงวัวของแขก ซึ่งคำว่า วัวลำพอง เพี้ยนมาจากคำว่า หัวลำโพง เนื่องจากชาวต่างชาติในสมัย[[รัชกาลที่ 5]] ไม่สามารถอ่านคำว่า หัวลำโพง ได้
 
แต่ทั้งนี้ที่มาของชื่อนั้นยังไม่เป็นที่แน่ชัด เนื่องจากรัชกาลที่ 5 ทรงมีประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 14 ฉบับที่ 148 พุทธศักราช 2440 ว่า วัวลำพอง กับ หัวลำโพง มิใช่สถานที่เดียวกัน <ref>{{cite web|url=https://www.youtube.com/watch?v=Abc-070vPts|date=2011-03-23|title=CHN_274_หัวลำโพง|work=ชื่อนั้น...สำคัญไฉน?}}</ref> และมีอีกคำอธิบายว่า อาจจะเป็นคำผสมทั้งภาษาไทยกับ[[ภาษามลายู]] จากคำว่า ขัว ในภาษาไทย ซึ่งแปลว่า สะพาน กับคำว่า ''lampung'' ในภาษามลายู (ออกเสียง ลำปุง) แปลว่า ชั่วคราว, ลอย ขัวลำพุง จึงหมายถึง สะพานชั่วคราว (ทอดข้ามหรือลอยในลำน้ำ) กลายเป็นหัวลำโพง เพื่อสะดวกการออกเสียงของชาวไทยไปในที่สุด ทั้งนี้ใกล้กับบริเวณหัวลำโพงขึ้นไปทางทิศเหนือ มีถนนคลองลำปัก ซึ่งสันนิษฐานว่าน่าจะมาจากภาษามลายูอีกเช่นกัน คือ ''lambak'' ที่หมายถึง กองของสิ่งของต่าง ๆ <ref>{{cite web|title=ศิลปวัฒนธรรม|date=2017-01-28|author=ป.ศรีนาค|title=ชื่อมลายูในกรุงเทพฯ|url=https://www.silpa-mag.com/club/art-and-culture/article_6028}}</ref>
 
สถานีนี้เริ่มสร้างในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 ในปี [[พ.ศ. 2453]] สร้างเสร็จและเริ่มใช้งาน วันที่ [[25 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2459]] ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 สถานีรถไฟกรุงเทพ เดิมเป็นสถานีที่ให้บริการทั้งด้านการขนส่งสินค้า และขนส่งมวลชน ต่อมาการขยายตัวในด้านการโดยสารและขนส่งสินค้ามีมากขึ้น แต่ด้วยพื้นที่อันจำกัดเพียง 120 ไร่ จึงทำให้ต้องย้ายกิจการขนส่งสินค้าไปอยู่ที่ย่านสินค้าพหลโยธิน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2503 และทำการปรับปรุงสถานีรถไฟกรุงเทพให้เป็นสถานีรถไฟสำหรับบริการด้านขนส่ง มวลชนเพียงอย่างเดียว เพื่อสามารถรองรับผู้โดยสารจากทั่วทุกสารทิศของประเทศ
 
ตัวสถานีแบ่งเป็นสองส่วนหลัก ได้แก่ อาคารมุขหน้า มีลักษณะเหมือนระเบียงยาว และอาคารโถงสถานีเป็นอาคารหลังคาโค้งขนาดใหญ่ ซึ่งเป็น[[สถาปัตยกรรมแบบคลาสสิก]] คือ เป็นงานเลียนแบบสถาปัตยกรรมโบราณของกรีก - โรมัน จุดเด่นของสถานีหัวลำโพงอีกอย่างหนึ่งคือ กระจกสีที่ช่องระบายอากาศ ทั้งด้านหน้าและด้านหลังซึ่งประดับไว้อย่างผสมผสานกลมกลืนกับตัวอาคาร เช่นเดียวกับนาฬิกาบอกเวลาซึ่งติดตั้งไว้กลางส่วนโค้งของอาคารด้านในและด้าน นอก โดยเป็นนาฬิกาที่สั่งทำขึ้นพิเศษเป็นการเฉพาะ ไม่ระบุชื่อบริษัทผู้ผลิตเหมือนนาฬิกาทั่ว ๆ ไป