ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 106:
วันที่ 6 เมษายน 2560 [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร]] ประทับพระราชอาสน์หน้าพระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์เพื่อลงพระปรมาภิไธยในร่างรัฐธรรมนูญและประทับตราพระราชลัญจกร นับเป็นพระราชพิธีประกาศใช้รัฐธรรมนูญครั้งแรกในรอบเกือบ 50 ปี<ref>[https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1479272441 พิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญ ธรรมเนียมปฏิบัติ 3 รัชกาล]</ref>
 
อนึ่ง ก่อนพระมหากษัตริย์ลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 นั้น ทรงมอบ "ข้อสังเกตพระราชทาน" และให้รัฐบาลแก้ไขให้เป็นไปตามข้อสังเกตดังกล่าว<ref>[http://www.bbc.com/thai/thailand-38977996 รัฐบาลแก้ไข รธน. ตามข้อสังเกตพระราชทานเสร็จแล้ว]</ref> ได้แก่ มาตรา 5, 17 และ 182<ref>[https://www.isranews.org/isranews-scoop/53227-rtn-53227.htmlกางมาตรา 5-17-182 รธน.ใหม่ ก่อนนายกฯสั่งแก้ให้เป็นไปตามพระราชกระแสรับสั่ง]</ref> ใจความสำคัญคือ 1) ตัดข้อความที่ให้ศาลรัฐธรรมนูญเรียกประชุมประมุขสามอำนาจเพื่อแก้ไขวิกฤตการเมือง, 2) พระมหากษัตริย์ไม่จำเป็นต้องแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และ 3) ผู้รับสนองกฎหมาย พระบรมราชโองการและประกาศพ้นจากความรับผิดชอบ<ref>[http://www.khaosodenglish.com/politics/2017/04/06/first-look-major-changes-new-thai-constitution/ First Look at Major Changes to the New Thai Constitution]</ref> เป็นการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญตามพระราชประสงค์หลังจากมีประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญแล้ว
 
== ข้อวิจารณ์ ==