ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 105:
 
วันที่ 6 เมษายน 2560 [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร]] ประทับพระราชอาสน์หน้าพระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์เพื่อลงพระปรมาภิไธยในร่างรัฐธรรมนูญและประทับตราพระราชลัญจกร นับเป็นพระราชพิธีประกาศใช้รัฐธรรมนูญครั้งแรกในรอบเกือบ 50 ปี<ref>[https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1479272441 พิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญ ธรรมเนียมปฏิบัติ 3 รัชกาล]</ref>
 
อนึ่ง ก่อนพระมหากษัตริย์ลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่พระมหากษัตริย์นั้น ทรงมอบ "ข้อสังเกตพระราชทาน" และให้รัฐบาลแก้ไขให้เป็นไปตามข้อสังเกตดังกล่าว<ref>[http://www.bbc.com/thai/thailand-38977996 รัฐบาลแก้ไข รธน. ตามข้อสังเกตพระราชทานเสร็จแล้ว]</ref>จำนวน 3ได้แก่ มาตรา ได้แก่มาตรา 5 มาตรา, 17 และมาตรา 182<ref>[https://www.isranews.org/isranews-scoop/53227-rtn-53227.htmlกางมาตรา 5-17-182 รธน.ใหม่ ก่อนนายกฯสั่งแก้ให้เป็นไปตามพระราชกระแสรับสั่ง]</ref> ซึ่งยังไม่เคยปรากฏมาก่อนที่พระมหากษัตริย์จะทรงประพฤติเช่นนั้น อีกทั้งเป็นการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญตามพระราชประสงค์ครั้งนี้ก็เกิดขึ้นหลังจากที่มีประชามติรับรองร่างแล้ว และเมื่อประกาศใช้รับร่างรัฐธรรมนูญแล้ว หัวหน้า คสช. ยังใช้อำนาจตามมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญชั่วคราวอยู่อีก<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/176/18.PDF</ref>
 
== ข้อวิจารณ์ ==
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่พระมหากษัตริย์ทรงมอบ "ข้อสังเกตพระราชทาน" และให้รัฐบาลแก้ไขให้เป็นไปตามข้อสังเกตดังกล่าว<ref>[http://www.bbc.com/thai/thailand-38977996 รัฐบาลแก้ไข รธน. ตามข้อสังเกตพระราชทานเสร็จแล้ว]</ref>จำนวน 3 มาตรา ได้แก่มาตรา 5 มาตรา 17 และมาตรา 182<ref>[https://www.isranews.org/isranews-scoop/53227-rtn-53227.htmlกางมาตรา 5-17-182 รธน.ใหม่ ก่อนนายกฯสั่งแก้ให้เป็นไปตามพระราชกระแสรับสั่ง]</ref> ซึ่งยังไม่เคยปรากฏมาก่อนที่พระมหากษัตริย์จะทรงประพฤติเช่นนั้น อีกทั้งการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญตามพระราชประสงค์ครั้งนี้ก็เกิดขึ้นหลังจากที่มีประชามติรับรองร่างแล้ว และเมื่อประกาศใช้ร่างรัฐธรรมนูญแล้ว หัวหน้า คสช. ยังใช้อำนาจตามมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญชั่วคราวอยู่อีก<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/176/18.PDF</ref>
 
ไทเรล ฮาเบอร์คอร์น จากภาควิชาการเมืองและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ของมหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย ซึ่งมีผลงานเขียนเกี่ยวกับประเทศไทยในหลายประเด็น วิจารณ์เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญชุดนี้ในทำนองว่า "ทำให้ทหารมีที่ยืนอย่างถาวรในรัฐบาล เพื่อให้การแทรกแซงกลายเป็นเรื่องปกติ"<ref>[http://www.bbc.com/thai/thailand-39538186 รัฐธรรมนูญใหม่ กับ ความไม่แน่นอนใหม่]</reF> รวมไปถึง ส.ว. มาจากการคัดเลือกของ คสช. และมีวาระ 5 ปี ซึ่งนานกว่าชุดอื่น ทั้งยังมีอำนาจร่วมออกเสียงเลือกนายกรัฐมนตรี และมีอำนาจกำกับดูแลให้รัฐบาลชุดใหม่ต้องทำตามยุทธศาสตร์ที่ คสช. จัดทำขึ้น<ref>[https://ilaw.or.th/node/4474 7 เรื่องต้องรู้: อ่าน “รัฐธรรมนูญ 2560” ฉบับเร่งรัด]</ref> สวนดุสิตโพลเผยผลสำรวจความคิดเห็นของประชาชน 1,164 คน ระหว่างวันที่ 6-9 ธันวาคม พ.ศ. 2560 เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญที่ประกาศใช้ใหม่ โดยส่วนใหญ่มองว่า เป็นฉบับปราบโกง เน้นป้องกันทุจริต แต่จุดอ่อนเป็นการสืบทอดอำนาจของ คสช.<ref>[https://www.posttoday.com/politic/news/529610 โพลชี้รธน.ปี60เป็นฉบับปราบโกง แต่มองจุดอ่อนสืบทอดอำนาจ]</ref>