ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
}}
 
'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560''' เป็น[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]] ฉบับที่ 20 หลังจาก[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557]] เป็นผลให้มีประกาศยกเลิก[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] การร่างรัฐธรรมนูญเริ่มขึ้นเมื่อมีการตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ (กยร.) เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2557 ประกอบด้วยสมาชิกจากการแต่งตั้ง 36 คน มี[[บวรศักดิ์ อุวรรณโณ]] เป็นประธาน<ref name="Laws14"/> ในเดือนกันยายน 2558 [[สภาปฏิรูปแห่งชาติ]] (สปช.) มีมติไม่รับร่างรัฐธรรมนูญของ กยร.<ref name="LawsCancel"/> จึงมีการตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ในเดือนตุลาคม 2558 เพื่อจัดทำร่างฯ ฉบับใหม่ ประกอบด้วยสมาชิก 21 คน มี[[มีชัย ฤชุพันธุ์]] เป็นประธาน<ref name="Laws15"/> เมื่อร่างเสร็จแล้ว มี[[การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2559|การลงประชามติ]]ในเดือนสิงหาคม 2559 ซึ่งผู้มาใช้สิทธิร้อยละ 61.35 เห็นชอบ
'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560''' เป็น[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]] ฉบับที่ 20 ซึ่งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ร่างขึ้นในช่วง พ.ศ. 2558–2560 หลังจากที่[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] (คสช.) ซึ่งมีพลเอก [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] เป็นหัวหน้า ได้ก่อ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557|รัฐประหาร]]เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ประกาศยกเลิก[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] และออก[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557]] ซึ่งบัญญัติให้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
 
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560
การร่างรัฐธรรมนูญเริ่มขึ้นเมื่อมีการตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ (กยร.) เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 ประกอบด้วยสมาชิก 36 คน ทุกคนมาจากการแต่งตั้ง มี[[บวรศักดิ์ อุวรรณโณ]] เป็นประธาน<ref name="Laws14"/> แต่ในวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2558 [[สภาปฏิรูปแห่งชาติ]] (สปช.) มีมติไม่รับร่างรัฐธรรมนูญของ กยร.<ref name="LawsCancel"/> ทำให้ต้องตั้ง กรธ. ขึ้นเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2558 เพื่อมาจัดทำร่างฉบับใหม่ ประกอบด้วยสมาชิก 21 คน มี[[มีชัย ฤชุพันธุ์]] เป็นประธาน<ref name="Laws15"/> เมื่อร่างเสร็จแล้ว ได้จัดให้มีการออกเสียงประชามติรับรอง ได้รับเสียงเห็นชอบ 16.8 ล้านเสียง และไม่เห็นชอบ 10.5 ล้านเสียง นับเป็นรัฐธรรมนูญไทยฉบับที่สองที่ผ่านประชามติ ฉบับก่อนหน้า คือ [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]]<ref>[http://www.bbc.com/thai/39491973 กว่าจะเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 20
 
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560 ณ [[พระที่นั่งอนันตสมาคม]] [[พระราชวังดุสิต]] กรุงเทพมหานคร และพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้า คสช. และนายกรัฐมนตรี ลงนามรับสนองพระราชโองการ รัฐธรรมนูญมีผลใช้บังคับทันที
 
== ประวัติ ==