ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระสังฆราชกัมพูชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 26:
ถึงปี ค.ศ. 1991–2006 หลังจากกัมพูชาลงนามใน[[ข้อตกลงสันติภาพปารีส]] [[พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ]] ได้ทรงสถาปนาพระเทพ วงศ์ เป็น'''สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี''' (សម្ដេចព្រះមហាសុមេធាធិបតី ''สมฺเตจพฺระมหาสุเมธาธิบตี'') สมเด็จพระสังฆราชในคณะ[[มหานิกาย]] และพระ[[บัวร์ กรี]] (បួរ គ្រី ''บัวร กรี'') เป็น'''สมเด็จพระสุคนธาธิบดี''' (សម្តេចព្រះសុគន្ធាធិបតី ''สมฺเตจพฺระสุคนฺธาธิบตี'') สมเด็จพระสังฆราชในคณะ[[ธรรมยุติกนิกาย]] ทำให้ประเทศกัมพูชามี[[สังฆราช]] 2 พระองค์ และ[[รัฐธรรมนูญกัมพูชา]]ยังกำหนดให้สมเด็จพระสังฆราชทั้งสองพระองค์เป็นสมาชิกโดยตำแหน่งของ[[กรมปรึกษาราชบัลลังก์]] ซึ่งมีหน้าที่คัดเลือกผู้สืบราชสันตติวงศ์เป็น[[พระมหากษัตริย์กัมพูชา]]<ref>{{Harv|Harris|2001|p=77}}</ref>
 
ถึงปี ค.ศ. 2006 พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ ทรงสถาปนาสมเด็จเทพ วงศ์ เป็น'''สมเด็จพระอัครมหาสังฆราชาธิบดี''' (សម្តេចព្រះអគ្គមហាសង្ឃរាជាធិបតី ''สมเตจพระอคฺคมหาสงฺฆราชาธิบตี'') สมเด็จพระมหาสังฆราชในพระราชอาณาจักรกัมพูชา นับเป็นบุคคลแรกในรอบ 150 ปีที่ได้รับตำแหน่งพิเศษดังกล่าว<ref name="tv1" /> และสถาปนาพระนนท์ แงด (នន្ទ ង៉ែត) เป็นสมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี สมเด็จพระสังฆนายกในคณะมหานิกายมาจนถึงปัจจุบัน<ref name="tv1" /> ต่อมาในปี ค.ศ. 2007 จึงได้มีการสถาปนาสมเด็จบัวร์ กรี ขึ้นเป็น'''สมเด็จพระอภิสิรีสิริสุคนธามหาสังฆราชาธิบดี''' (សម្តេចព្រះអភិសិរីសុគន្ធាមហាសង្ឃរាជាធិបតី ''สมฺเตจพฺระอภิสิรีสุคนฺธามหาสงฺฆราชาธิบตี'') มีฐานะเป็นสมเด็จพระมหาสังฆราชอีกพระองค์หนึ่ง โดยไม่ปรากฏว่ามีการแต่งตั้งผู้ใดขึ้นดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆนายกในคณะธรรมยุติกนิกายทดแทนอย่างเช่นในคณะมหานิกาย
 
== รายพระนามประมุขสงฆ์แห่งกัมพูชา ==