ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องบินขับไล่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 94:
[[ไฟล์:Hellcats F6F-3, May 1943.jpg|right|thumb|[[กรัมแมน เอฟ6เอฟ เฮลแคท]]]]
[[ไฟล์:F4F-3 new pitot tube of later model.jpg|thumb|left|[[กรัมแมน เอฟ4เอฟ ไวลด์แคท]]กำลังลาดตระเวนในต้นปีพ.ศ. 2485]]
[[ไฟล์:Nakajima Ki-43-IIa.jpg|thumb|right|[[นากาจิมามะ เคไอ-43]]]]
สมรภูมิในแปซิฟิกฝ่ายญี่ปุ่นที่มีประสบการณ์ใช้[[มิตซูบิชิ เอ6เอ็ม ซีโร่]]รุ่นล่าสุดของพวกเขาเพื่อครอบครองท้องฟ้า ในขณะที่กองทัพอากาศฝ่ายสัมพันธมิตรมักใช้เครื่องบินที่ล้าสมัยเพราะคิดว่าญี่ปุ่นนั้นไม่อันตรายเท่าเยอรมนี นั่นทำให้พวกเขาถูกบังคับให้ต้องล่าถอยจนกระทั่งฝ่ายญี่ปุ่นเริ่มเหนื่อยล้า ขณะที่ญี่ปุ่นเข้าร่วมสงครามพร้อมนักบินที่ฝึกมาอย่างดี พวกเขาก็ไม่เคยทดแทนนักบินที่เสียไปได้โดยที่มีคุณภาพเท่าเดิม แตกต่างจากโรงเรียนของสหรัฐฯ ได้ฝึกนักบินออกมานับพันคนที่มีความสามารถเพียงพอ เครื่องบินขับไล่ของญี่ปุ่นนั้นมีความเร็วและพิสัยไกล และในตอนนั้นนักบินฝ่ายสัมพันธมิตรได้พัฒนายุทธวิธีเพื่อใช้อาวุธที่เหนือกว่าของพวกเขาและการป้องกันของ[[กรัมแมน เอฟ4เอฟ ไวลด์แคท]]และ[[เคอร์ติส พี-40]] ตั้งแต่กลางปีพ.ศ. 2485 เครื่องบินขับไล่รุ่นใหม่ของสัมพันธมิตรรวดเร็วกว่าและมีอาวุธที่ดีกว่าของญี่ปุ่น และยุทธวิธีใหม่ๆ ช่วยให้พวกเขาจัดการกับเครื่องซีโร่และ[[นากาจิมามะ เคไอ-43]]ที่เร็วกว่าได้ อุตสาหกรรมของญี่ปุ่นไม่สามารถสร้างการผลิตได้มากเท่ากับของฝั่งตะวันตก และเครื่องบินขับไล่ของญี่ปุ่นก็ถูกกำจัดออกจากท้องฟ้ากลางปีพ.ศ. 2487
{{clear}}