ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สำเนียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
 
==พัฒนาการ==
เด็ก ๆ รับสำเนียงมาใช้ได้ค่อนข้างเร็ว เด็ก ๆ จากครอบครัวผู้อพยพเข้าเมืองมักออกเสียงเลียนเจ้าของสำเนียงได้ดีกว่าพ่อแม่ แต่ทั้งเด็กและพ่อแม่ก็อาจมีสำเนียงที่ไม่เหมือนเจ้าของภาษาอย่างสังเกตได้ชัด<ref name=Flege>{{cite journal|doi=10.1016/j.wocn.2005.05.001|last=Flege |first=James Emil |author2=David Birdsong|author3=Ellen Bialystok|author4=Molly Mack|author5=Hyekyung Sung|author6= Kimiko Tsukada |title=Degree of foreign accent in English sentences produced by Korean children and adults |journal=Journal of Phonetics |volume=34 |issue=2 |pages=153–175|year=2006}}</ref> ดูเหมือนว่าสำเนียงของบุคคลหนึ่ง ๆ จะถูกหล่อหลอมดัดแปลงได้จนกระทั่งบุคคลนั้นมีอายุยี่สิบปีต้น ๆ หลังจากนั้นสำเนียงก็จะเริ่มฝังหยั่งรากลึกมากขึ้น<ref name="FAQ">{{Cite web|accessdate=2016-04-10 |url=http://linguist.emich.edu/ask-ling/accent.html |publisher=LINGUIST List|title=Ask a Linguist FAQ: Accents|archiveurl=https://web.archive.org/web/20081008000501/http://linguist.emich.edu/ask-ling/accent.html |archivedate=2008-10-08 }}</ref>
 
ถึงกระนั้น สำเนียงอาจจะไม่ได้คงที่อย่างสมบูรณ์แม้ในวัยผู้ใหญ่ การวิเคราะห์ทางกลสัทศาสตร์ของถ้อยคำอวยพรวันคริสต์มาสจาก[[สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2]] โดยจอนาทัน แฮร์ริงตัน เปิดเผยว่า แม้กระทั่งรูปแบบการพูดของบุคคลแนวอนุรักษนิยมอย่างกษัตริย์หรือกษัตรีย์พระองค์หนึ่ง ๆ ก็ยังสามารถเปลี่ยนแปลงไปได้เรื่อย ๆ ตลอดช่วงชีวิต<ref>{{cite journal |last=Harrington |first=Jonathan |title=An Acoustic Analysis of 'Happy Tensing' in the Queen's Christmas Broadcasts |journal=Journal of Phonetics |volume=34 |issue=4 |pages=439–57 |year=2006 |doi=10.1016/j.wocn.2005.08.001|citeseerx=10.1.1.71.8910 }}</ref>