ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาไทยถิ่นเหนือ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 8496490 สร้างโดย 2001:44C8:4241:75F5:1:2:16B6:CDC9 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ᨣᩢᩱᨡᩱᨯᩢᨽᩈᩤᩱᨴᩢ
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 25:
คำเมืองยังสามารถแบ่งออกเป็นสำเนียงล้านนาตะวันตก (ในจังหวัด[[เชียงใหม่]], [[ลำพูน]] และ[[แม่ฮ่องสอน]]) และสำเนียงล้านนาตะวันออก (ในจังหวัด[[เชียงราย]], [[พะเยา]], [[ลำปาง]], [[อุตรดิตถ์]], [[แพร่]] และ[[น่าน]]) ซึ่งจะมีความแตกต่างกันบ้าง คือ สำเนียงล้านนาตะวันออกส่วนใหญ่จะไม่พบสระเอือะ เอือ แต่จะใช้สระเอียะ เอียแทน (มีเสียงเอือะและเอือเพียงแต่คนต่างถิ่นฟังไม่ออกเอง เนื่องจากเสียงที่ออกมาจะเป็นเสียงนาสิกใกล้เคียงกับเอียะ เอีย)
 
ส่วนคนในจังหวัดลำพูนมักจะพูดสำเนียง[[เมืองยอง]] เพราะชาว[[ลำพูน]]จำนวนมากสืบเชื้อสายมาจากชาวยองในรัฐฉาน จึงมีสำเนียงที่เป็นเอกลักษณ์
 
คำเมืองมี[[ไวยากรณ์]]คล้ายกับ[[ภาษาไทย|ภาษาไทยกลาง]]แต่ใช้คำศัพท์ไม่เหมือนกันและ[[ไวยากรณ์]]ที่แตกต่างกันอยู่บ้าง แต่เดิมใช้คู่กับ ''[[อักษรธรรมล้านนา]]'' ซึ่งเป็นตัวอักษรของ[[อาณาจักรล้านนา]]ที่ใช้[[อักษรมอญ]]เป็นต้นแบบ