ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามแอลจีเรีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 32:
}}
 
'''สงครามแอลจีเรีย''' ยังเป็นที่รู้จักกันคือ '''สงครามเพื่ออิสรภาพแก่แอลจีเรีย''' หรือ '''การปฏิวัติแอลจีเรีย'''({{lang-ar|الثورة الجزائرية}} ''{{lang|ar-Latn|Al-thawra Al-Jazaa'iriyya}}''; ''{{lang-ber|Tagrawla Tadzayrit}}''; {{lang-fr|Guerre d'Algérie}} or ''{{lang|fr|Révolution algérienne}}'') เป็นการสู้รบระหว่างฝรั่งเศสและ[[แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ]]แอลจีเรีย({{lang-fr|Front de Libération Nationale}} – FLN) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1954 ถึง ค.ศ. 1962 ซึ่งนำไปสู่แอลจีเรียได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส ด้วยสงครามการให้เอกราชที่สำคัญครั้งนี้ มันเป็นความขัดแย้งที่ซับซ้อนที่เห็นได้อย่างเด่นชัดด้วยสงครามรบแบบกองโจร การสู้รบของขบวนการมาร์กี และมีการใช้ทรมาน ความขัดแย้งครั้งนี้ได้กลายเป็น[[สงครามกลางเมือง]]ระหว่างชุมชนต่างๆและชุมนุมภายใน<ref name="Pervillé-2002-132-139">{{Harvsp|Pervillé|2002|pp=132–139}} (chap. "Une double guerre civile").</ref> สงครามครั้งนี้เกิดขึ้นส่วนใหญ่ในดินแดนแอลจีเรีย กับผลกระทบต่อ[[ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่]]
 
การเริ่มต้นอย่างมีประสิทธิภาพโดยสมาชิกแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ(FLN) เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1954 ในช่วง Toussaint Rouge(วันสมโภชนักบุญทั้งหลายสีแดง) ด้วยความขัดแย้งครั้งนี้นำไปสู่วิกฤตการณ์ทางการเมืองอย่างร้ายแรงในฝรั่งเศสทำให้[[สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4]] ล่มสลาย(ค.ศ. 1946-58) ถูกแทนที่ด้วย[[สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5]] พร้อมกับประธานาธิบดีที่เข้มแข็ง ด้วยความโหดร้ายของวิธีการที่ใช้โดยกองทัพฝรั่งเศสได้ล้มเหลวในการเอาชนะหัวใจและวิญญาณในแอลจีเรีย การสนับสนุนที่่แปลกๆในประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่และชาวฝรั่งเศสที่มีศักดิ์ศรีในต่างประเทศต้องอับอาย<ref name="toto.lib.unca.edu">Keith Brannum, [[University of North Carolina Asheville]], The Victory Without Laurels: The French Military Tragedy in Algeria(1954–1962) [http://toto.lib.unca.edu/sr_papers/history_sr/srhistory_2012/brannum_keith.pdf] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20141026154518/http://toto.lib.unca.edu/sr_papers/history_sr/srhistory_2012/brannum_keith.pdf|date=2014-10-26}}</ref><ref name="books.google.fr">Irwin M. Wall, ''France, the United States, and the Algerian War'', pp, 68–69. [https://books.google.com/books?id=4pCqdooCE14C&printsec=frontcover&hl=fr#v=onepage&q&f=false]</ref>
 
ภายหลังจากการประท้วงครั้งใหญ่ใน[[แอลเจียร์]]และหลายเมืองอื่นๆต่างได้เรียกร้องเอกราช(ค.ศ. 1960)<ref>{{Cite book|url=https://books.google.com/?id=x_-5XTVKW08C&q=79#v=snippet&q=79&f=false|title=Algeria, 1830-2000: A Short History|isbn=978-0801489167|last1=Stora|first1=Benjamin|year=2004}}</ref><ref name="google5">{{cite book|title=Les accords d'Evian (1962): Succès ou échec de la réconciliation franco-algérienne (1954–2012)|author=Pervillé, G.|date=2012|publisher=Armand Colin|isbn=9782200281977|url=https://books.google.fr/books?id=NfURJK60geEC&pg=PP73|accessdate=2017-01-13}}</ref> และมติขององค์การสหประชาชาติได้ตระหนักถึงสิทธิในการได้รับเอกราช<ref name="un">{{cite web|url=https://www.un.org/french/documents/view_doc.asp?symbol=A/RES/1573%28XV%29&Lang=F|publisher=un.org|title=Document officiel des Nations Unies|accessdate=2017-01-13}}</ref> [[ชาร์ล เดอ โกล]] ประธานาธิบดีคนแรกของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 ได้ตัดสินใจที่จะเปิดการประชุมเจรจากับแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ ผลสรุปด้วยการลงนามในข้อตกลงเอวีย็อง ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1962 การลงประชามติได้เกิดขึ้นเมื่อ 8 เมษายน ค.ศ. 1962 และคนในฝรั่งเศสมีสิทธิ์ในการลงคะแนนในการอนุมัติข้อตกลงเอวีย็อง ผลสุดท้ายคือ 91% การให้สัตยาบันในข้อตกลงครั้งนี้<ref name="france-politique">{{cite web|url=http://www.france-politique.fr/referendum-1962-algerie.htm|publisher=france-politique.fr|title=référendum 1962 Algérie|accessdate=2017-01-13}}</ref> และ 1 กรกฏาคม ข้อตกลงนั้นอยู่ภายใต้การลงประชามติครั้งที่ 2 ในประเทศแอลจีเรีย ด้วยผลโหวตในการได้รับเอกราช คือ เห็นด้วย 99.72% และไม่เห็นด้วย 0.28%<ref>{{cite journal|title=Proclamation des résultats du référendum d'autodétermination du 1er juillet 1962|url=http://www.joradp.dz/JO6283/1962/001/FP3.pdf|date=6 July 1962|journal=Journal Officiel de l'État Algérien|accessdate=2009-04-08}}</ref>
 
แผนการของฝรั่งเศสในการถอนกำลังนำไปสู่วิกฤตการณ์รัฐ รวมถึงความพยายามต่างๆที่จะลอบสังหารเดอ โกล รวมทั้งความพยายามที่จะก่อรัฐประหาร อดีตส่วนใหญ่ที่ถูกดำเนินโดย ''Organisation armée secrète'' (OAS), เป็นองค์กรใต้ดินที่ถูกก่อตั้งขึ้นมาจากบุคคลากรทางทหารส่วนใหญ่ของฝรั่งเศสที่สนับสนุนชาวฝรั่งเศสในแอลจีเรีย ซึ่งได้ก่อการวางระเบิดและฆาตกรรมจำนวนมากทั้งในประเทศแอลจีเรียและในแผ่นดินเกิดเพื่อหยุดยั้งแผนการให้อิสรภาพ
 
เมื่อได้มอบอิสรภาพแล้วในปี ค.ศ. 1962 ชาวยุโรป-แอลจีเรีย(''{{lang|fr|[[Pieds-noirs]]}}'') 900,000 คนได้ลี้ภัยไปยังฝรั่งเศสภายในเวลาไม่กี่เดือนเพราะหวาดกลัวการล้างแค้นของแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ รัฐบาลฝรั่งเศสไม่ได้เตรียมความพร้อมสำหรับผู้ลี้ภัยจำนวนมหาศาลซึ่งทำให้เกิดความวุ่นวายในฝรั่งเศส ชาวมุสลิมแอลจีเรียส่วนใหญ่ที่ทำงานให้กับฝรั่งเศสจะถูกปลดอาวุธและถูกทิ้งไว้เบื้องหลัง เนื่องจากข้อตกลงระหว่างทางการฝรั่งเศสกับทางการแอลจีเรียได้ประกาศว่าจะไม่ดำเนินการอะไรใดๆกับพวกเขา<ref>Évian accords, Chapitre II, partie A, article 2</ref> อย่างไรก็ตาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับพวกฮาร์คิส(Harkis) มีหน้าที่ในการสนับสนุนแก่กองทัพฝรั่งเศส ถูกตราหน้าว่าเป็นพวกทรยศและหลายคนถูกสังหารโดยแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติหรือไม่ก็ถูกรุมประชาทัณฑ์ มีบ่อยครั้งหลังจากถูกลักพาตัวและถูกทรมาน<ref name="Horne" />{{rp|537}}<ref>See http://www.aljazeera.com/news/2015/05/qa-happened-algeria-harkis-150531082955192.html<nowiki> and Pierre Daum's "The Last Taboo: Harkis Who Stayed in Algeria After 1962".|date=November 2017}}</nowiki></ref> มีจำนวนประมาณ 9,000 คนได้หลบหนีไปยังฝรั่งเศส<ref>{{cite news|url=https://www.ibtimes.com/france-algeria-50-years-after-independence-what-happened-harkis-214408|title=France-Algeria: 50 Years After Independence, What Happened To The Harkis?|first=Palash|last=Ghosh|date=2 April 2012|work=International Business Times}}</ref> บางคนได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ชาวฝรั่งเศสที่ปฏิบัติด้วยการขัดคำสั่ง และในปี ค.ศ. 2016 พวกเขาและลูกหลานได้กลายเป็นส่วนที่สำคัญของประชากรแอลจีเรีย-ฝรั่งเศส
 
==อ้างอิง==