ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทศกาลกินเจ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Palm Kotchapong (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการเพิ่มอ้างอิง}}
{{แก้รูปแบบ}}
'''เทศกาลกินเจ''' หรือ '''กินแจ'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]</ref> ({{lang-zh|九皇勝會}}; [[ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน|ฮกเกี้ยน]]: กิ้วอ๋องเซ่งโห่ย; หรือ {{lang-zh|九皇大帝誕}}; [[หมิ่นหนาน|ฮกเกี้ยน]]: กิ้วอ๋องไต่เต้ตั้น) หรือบางแห่งเรียกว่า '''ประเพณีถือศีลกินผัก'''<ref>http://news.phuketindex.com/travel/phuket-vegetarian-2-190191.html</ref> เป็นประเพณีแบบ[[ลัทธิเต๋า]]รวม 9 วัน กำหนดเอาวันตาม[[จันทรคติ]] คือ เริ่มต้นตั้งแต่วันขึ้น 1 ค่ำ ถึง ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 9 ตาม[[ปฏิทินจีน]]ของทุกปี มีจุดเริ่มต้นโดยชาว[[เปอรานากัน]]ใน[[ประเทศมาเลเซีย]]และ[[ภาคใต้ (ประเทศไทย)|ภาคใต้ของประเทศไทย]] โดยมีตำนานเล่าขานกันหลายตำนาน ปัจจุบัน เทศกาลกินเจจัดขึ้นในประเทศ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ได้แก่ [[สิงคโปร์]] [[มาเลเซีย]] และ[[ไทย]] ตลอดจน[[หมู่เกาะเรียว]]ใน[[อินโดนีเซีย]]และอาจมีในบางประเทศเอเชียซึ่งการกินเจในเดือน 9 นี้ เชื่อกันว่าน่าจะเกิดขึ้นเมื่อราว พ.ศ. 2170 ตรงกับสมัย[[อาณาจักรอยุธยา]]<ref name="doctorcos">http://www.doctorcosmetics.com/read_content.php?id=1791&pagetype=product</ref>
บรรทัด 29:
=== ตำนานที่ 4 ===
 
กินเจเพื่อเป็นการบูชา“[[จักรพรรดิซ่งตี้ปิง|กษัตริย์เป๊ง]]”ซึ่งเป็นกษัตริย์[[ฮ่องเต้|จักรพรรดิ]]องค์สุดท้ายของ[[ราชวงศ์ซ้อง]]ซึ่งสิ้นพระชนม์โดยทรงทำ[[อัตวินิบาตกรรม]] (การฆ่าตัวตาย) ในขณะที่เสด็จ[[เกาะไต้หวัน|ไต้หวัน]]โดยทางเรือ เมื่อมีพระชนนมายุได้ 9 พรรษา พิธีบูชาเพื่อระลึกถึงราชวงศ์ซ้องนี้ มีแต่เฉพาะใน[[มณฑลฮกเกี้ยน]]ซึ่งเป็นดินแดนผืนสุดท้ายของราชวงศ์ซ้องเท่านั้น โดยชาวฮกเกี้ยนได้จัดทำพิธีดังกล่าวนี้ขึ้นด้วยการอาศัยศาสนาบังหน้าการเมือง การที่เผยแผ่มาสู่เมืองไทยได้นั้นเพราะชาวจีนจากฮกเกี้ยนนำมาเผยแผ่
 
=== ตำนานที่ 5 ===
15001,500 ปีมาแล้ว มณฑลกังไสเป็นดินแดนที่เจริญรุ่งเรืองมาก ฮ่องเต้เมืองนี้มีพระราชโอรส 9 พระองค์ซึ่งเป็นเลิศทั้งบุ๋นและบู๊จึงทำให้หัวเมืองต่างๆ ยอมสวามิภักดิ์ ยกเว้นแคว้นก่งเลี้ยดที่มีอำนาจเข้มแข็งและมีกองกำลังทหารที่เหนือกว่า ทั้งสองแคว้นทำศึกกันมาถึงครั้งที่ 4 แคว้นก่งเลี้ยดชนะโดยการทุ่มกองกำลังทหารที่มีทั้งหมดที่มากกว่าหลายเท่าตัวโอบล้อมกองทัพพระราชโอรสทั้งเก้าไว้ทุกด้าน แต่กองทัพก่งเลี้ยดไม่สามารถบุกเข้าเมืองได้จึงถอยทัพกลับ
 
จนวันหนึ่งชาวกังไสเกิดความแตกสามัคคีและเอาเปรียบกัน เทพยดาทราบว่าอีกไม่นานกังไสจะเกิดภัยพิบัติจึงหาผู้อาสาช่วยแต่ชาวบ้านจะพ้นภัยได้ก็ต่อเมื่อได้สร้างผลบุญของตนเอง ดวงวิญญาณพระราชโอรสองค์โตรับอาสาและเพ่งญาณเห็นว่าควรเริ่มที่บ้านเศรษฐีใจบุญ ลีฮั้วก่าย
บรรทัด 125:
 
== '''ความหมายของ "ธงเจ"''' ==
         ในช่วงเทศกาลกินเจ เราจะสังเกตเห็นปรากฏธงประจำเทศกาลตามสถานที่ต่าง ๆ โดยมีพื้นธงเป็นสีเหลืองซึ่งเป็นสีที่อนุญาตให้ใช้กับคนสองกลุ่มเท่านั้น คือกลุ่มกษัตริย์ ราชวงศ์ และกลุ่มอาจารย์ปราบผี ดังจะเห็นจากยันต์สีเหลืองตามภาพยนตร์จีน ดังนั้นสีเหลืองจึงเป็นสีของพุทธศาสนา หรือผู้ทรงศีล บนธงจะเขียนตัวอักษรสีแดง อ่านว่า "ไจ" หรือ "เจ" มีความหมายว่า "ของไม่มีคาว" เหตุที่ใช้สีแดง เพราะชาวจีนเชื่อว่า เป็นสีมงคล สร้างความเจริญให้แก่ชีวิต
         ธงเจนอกจากจะเป็นสัญลักษณ์ของอาหารเจแล้ว ยังเป็นการเตือนให้พุทธศาสนิกชนที่ปฏิบัติตนถือศีลกินเจได้ตระหนักถึงการไม่เบียดเบียนชีวิตสัตว์ และการตั้งอยู่ในศีลตลอดช่วงกินเจ