ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การคารวะแบบนาซี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "การทำความเคารพฮิตเลอร์" → "การทักทายแบบฮิตเลอร์" +แทนที่ "การทำความเคารพ" → "การคารวะ" +แทนที่ "การแสดงความเคารพ" → "การคารวะ" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{นาซี}}
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 147-0510, Berlin, Lustgarten, Kundgebung der HJ.jpg|thumb|upright=1.3|[[ยุวชนฮิตเลอร์]]ในเบอร์ลินทำความเคารพการคารวะแบบนาซี ในการสวนสนาม ปี ค.ศ. 1933]]
 
'''การทำความเคารพฮิตเลอร์คารวะแบบนาซี''' ({{lang-en|HitlerNazi salute}}) หรือ '''การทำความเคารพทักทายแบบนาซีฮิตเลอร์''' ({{lang-en|Nazi saluteHitlergruß}}) หรือเป็นที่รู้จักกันในเยอรมนีระหว่าง[[ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง]]เรียกว่า '''การทักทายแบบเยอรมัน''' ({{lang-de|Deutscher Gruß}}) โดย[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]ได้ดัดแปลงมาจาก[[การทำความเคารพคารวะแบบเบลลามี]] หลังจากการเคลื่อนไหวของผู้นิยม[[ลัทธิฟาสซิสต์]] ภายใต้การนำของ[[เบนิโต มุสโสลินี]] และการเคลื่อนไหวมวลชนอื่น ๆ โดยเป็นการแสดงถึงความยิ่งใหญ่ของฮิตเลอร์ตลอดช่วงเวลาของ[[นาซีเยอรมนี]]
 
== ลักษณะ ==
การทำความเคารพทักทายแบบฮิตเลอร์นั้น ทำโดยชูแขนขวาขึ้นทำมุม 45 องศากับพื้นราบและเบนออกทางขวามือเล็กน้อย พร้อมกับเปล่งเสียงอันมั่นคงและดังกังวานว่า ''"ไฮล์ ฮิตเลอร์"'' หากยืนอยู่ต่อหน้าผู้ที่อาวุโสกว่าควรจะตบเท้าไปด้วยในขณะเดียวกัน แต่หากอยู่ระหว่างการชุมนุมและการประชุม ฝูงชนอาจจะชูแขนขึ้นในอากาศพร้อมกับตะโกนว่า "[[ซีก''ซีคไฮล์'' ไฮล์]]"(ชโย)
 
== จุดกำเนิด ==
[[ไฟล์:germansalute.jpg|thumbnail|การสถาปนากษัตริย์เยอรมันในสมัยโบราณ]]
 
ถึงแม้ว่าลัทธิฟาสซิสต์อิตาลีจะนำการทำความเคารพคารวะแบบดังกล่าวมาจากการทักทายในสมัยโรมันโบราณ แต่ฮิตเลอร์และผู้นำหน่วย[[ชุทซ์ชทัฟเฟิลชุทซ์ชตัฟเฟิล|เอ็สเอ็ส]] [[ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์]] กลับเชื่อว่าการทำความเคารพคารวะแบบดังกล่าวเกิดจากการชุมนุมกันของชาวเยอรมันโบราณ
 
ฮิตเลอร์พิจารณาการทำความเคารพคารวะดังกล่าวว่าเป็นการแสดงถึงจิตวิญญาณอันกระหายสงครามของชาวเยอรมัน ขณะที่ฮิมม์เลอร์มองว่าเป็นการมอบความสัตย์พร้อมกับหอกที่ชูปลายขึ้น คำกล่าวอ้างดังกล่าวได้รับการสนับสนุนอยู่บางส่วน นักประวัติศาสตร์ได้ถกเถียงกันมานานแล้วว่าการทำความเคารพคารวะในแบบเดียวกันนี้ถูกใช้เฉพาะแต่ในการสถาปนาพระมหากษัตริย์เยอรมันในสมัยโบราณเท่านั้น<ref group=note>จาก ''Illustrated Exhibitor'' การรือฟื้นประเพณีดังกล่าวของชาวกอลและชาวเยอรมันอยู่ภายใต้การดำเนินการของ Augustin Thierry. Illustrated Exhibitor, 1852, vol. 1., pp.165-6</ref>
 
ส่วนทางด้านสารานุกรมโบรคเฮาส์ได้ตอกย้ำแนวคิดดังกล่าว โดยแจ้งว่าการทำความเคารพคารวะแบบดังกล่าวสันนิษฐานว่านำมาจากกิริยาท่าทางที่ใช้ระหว่างการราชาภิเษกของกษัตริย์เยอรมันในยุคกลางตอนต้น พร้อมกับเปล่งเสียงออกมาว่า "ไฮล์"<ref>"Der Nazi-Gruß war aus der spätgermanischen Zeit hergeleitet"; Brockhaus Encyclopedia, 1989,vol. 9, p. 604</ref> ตามทฤษฎีอารยันของพรรคนาซี ผู้ปกครองโรมันสมัยโบราณชอบท่องเที่ยวไปตามยุโรปตอนเหนือ ดังนั้น พรรคนาซีจึงมีความเชื่อว่าชาวโรมันได้นำเอาการทำความเคารพคารวะดังกล่าวกลับไปยังกรุงโรมด้วย
 
== การนำไปใช้ ==
=== ในนาซีเยอรมนี (ก่อนหน้า ค.ศ. 1945) ===
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1933 ถึง 1945 การทำความเคารพทักทายแบบฮิตเลอร์ถือว่าเป็นการทักทายแบบเยอรมันโดยทั่วไป การเปล่งเสียงว่า "ไฮล์ ฮิตเลอร์" (อันมีความหมายว่า "ฮิตเลอร์ จงเจริญ") ถูกใช้ในการแสดงความเคารพคารวะต่อประชาชนโดยตรง หรือกับนายทหารระดับสูงของหน่วยเอสเอสเอ็สเอ็ส ส่วนการทำความเคารพคารวะตัวฮิตเลอร์เองนั้นให้ใช้คำว่า "ไฮล์ ไมน์ [[ฟือเรอร์]]" (ท่านผู้นำของเรา จงเจริญ) หรือจะเปล่งเสียงง่าย ๆ ว่า "ไฮล์" เมื่อกล่าวถึงตัวฮิตเลอร์เป็นบุคคลที่สาม
 
[[ซีก ไฮล์]] หรือ "ชัยชนะ จงเจริญ" เป็นถ้อยคำที่พรรคนาซีมักจะใช้ในการชุมนุม โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังการปราศรัยของฮิตเลอร์ โดยปกติแล้วผู้กล่าวจะทวนคำพูดสามครั้งจะได้ว่า "ซีก ไฮล์... ซีก ไฮล์... ซีก ไฮล์"
 
โดยส่วนตัวของฮิตเลอร์แล้ว เขามักจะใช้การแสดงความเคารพท่าคารวะดังกล่าวเช่นกัน และปรากฏรูปถ่ายมากมายที่เห็นว่าฮิตเลอร์แสดงความเคารพต่อใช้ท่านี้ทักทายฝูงชนจากรถเปิดประทุนที่เขาโดยสาร ในขณะที่แต่ตัวฮิตเลอร์มักจะมีการดัดแปลงแก้ไขรูปแบบใหม่เสียท่าคารวะที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน โดยแขนของเขาจะงอขึ้นจากข้อศอก พร้อมกับเอาฝ่ามือเอียงเข้าหาไหล่ โดยเป็นสัญลักษณ์ของการทำความเคารพธงชาติของชาวอเมริกัน ซึ่งได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของการเคลื่อนไหวแบบ[[ลัทธินาซี]]และ[[ลัทธิฟาสซิสต์]]
 
หลัง[[แผนลับ 20 กรกฎาคม]] ในปี [[ค.ศ. 1944]] กำลังทหารทั้งหมดในนาซีเยอรมนีได้รับคำสั่งให้เปลี่ยนจากการแสดงความเคารพแบบทหารตามปกติทำวันทยหัตถ์เป็นการทำความเคารพทักทายแบบฮิตเลอร์ทั้งหมด โดยคำสั่งดังกล่าวมีผลเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม ปีเดียวกัน อย่างไรก็ตาม กำลังพลบางส่วนปฏิเสธคำสั่งดังกล่าวและใช้การทำความเคารพวันทยหัตถ์แบบเดิมต่อไป โดยก่อนหน้านั้น การทำความเคารพทักทายแบบฮิตเลอร์ถือว่าเป็นสิ่งที่สามารถหนึ่งในสองทางเลือกได้ในการแสดงความเคารพในกองทัพเยอรมันควบคู่กับการทำวันทยหัตถ์ และใช้เฉพาะเป็นการตอบรับการทักทายแบบดังกล่าวเท่านั้น
 
=== หลังปี ค.ศ. 1945 ===
การทำความเคารพทักทายแบบฮิตเลอร์ซึ่งเป็นการดัดแปลงมาจาก[[การทำความเคารพคารวะแบบโรมันโรม]]ถูกใช้ในหลายประเทศด้วยความหมายหลายประการก่อนหน้า[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] อย่างเช่น [[การทำความเคารพคารวะแบบเบลลามี]] ซึ่งใช้เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิญาณความจงรักภักดีต่อธงชาติสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนถึงช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 และ[[การทำความเคารพคารวะแบบโรมันโรม]]มีส่วนคล้ายกับการทำความเคารพทักทายแบบฮิตเลอร์ ในปี ค.ศ. 1942 จึงได้มีการยกเลิกการแสดงความเคารพคารวะดังกล่าวเนื่องจากสาเหตุนี้ และยังได้มีการยกเลิกการแสดงความเคารพคารวะแบบดังกล่าวในอีกหลายประเทศ ในประเทศสเปน การทำความเคารพคารวะแบบฟาสซิสต์เป็นที่นิยมน้อยลง ภายหลังการถึงอสัญกรรมของ[[ฟรานซิสโก ฟรังโก]] ในปี ค.ศ. 1975 ถึงแม้ว่าจะมีการใช้กันอยู่ในกลุ่มนีโอฟาลังก์
 
การแสดงความเคารพคารวะดังกล่าวและการใช้ถ้อยคำประกอบถูกห้ามในประเทศเยอรมนีและออสเตรียภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ส่วนการแสดงความเคารพคารวะยังคงมีใช้กันอยู่โดยกลุ่ม[[นีโอนาซี]] ซึ่งใช้ตัวเลข 88 ในการสื่อความหมายว่า "ฮิตเลอร์ จงเจริญ" (เลข [[8]] หมายถึง ตัวอักษร [[H]] ในภาษาอังกฤษ) การทำความเคารพคารวะรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า ''การทำความเคารพคารวะแบบคือเนน'' ซึ่งประกอบด้วย[[นิ้วโป้ง]] [[นิ้วชี้]]และ[[นิ้วกลาง]]ก็ถูกห้ามในประเทศเยอรมนีเช่นกัน
 
นอกจากกลุ่มนีโอนาซีแล้ว กลุ่ม[[ฮิซบุลลอหฺ]]ยังใช้การทำความเคารพทักทายแบบฮิตเลอร์เป็นการแสดงพลังและความจงรักภักดีของตน โดยท่าการทำความเคารพทักทายแบบฮิตเลอร์ของฮิซบุลลอหฺไม่มีความแตกต่างจากท่าการทำความเคารพทักทายแบบฮิตเลอร์ของ[[นาซี]]
 
== เชิงอรรถ ==
เส้น 44 ⟶ 45:
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Hitler salute}}
 
* [[การทำความเคารพคารวะแบบโรมันโรม]]
* [[อะเว]]
* [[การทำความเคารพคารวะแบบเบลลามี]]
* [[ซีก ไฮล์ซีคไฮล์]]
 
[[หมวดหมู่:นาซี]]
[[หมวดหมู่:การทักทาย]]
[[หมวดหมู่:การทำความเคารพคารวะ]]
[[หมวดหมู่:ท่าทางของมือ]]
[[หมวดหมู่:สัญลักษณ์ท่าทาง]]