ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สำเนียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Somsak Ung (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Somsak Ung (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 122:
 
==กรณีสำหรับไม่ใช่เจ้าของสำเนียงถิ่น==
ปัจจัยสำคัญในการวัดระดับสำเนียงต่างชาติว่าพูดไม่ชัดวัดได้คืออายุที่เลยวัยสำหรับเป็นเจ้าของภาษา<ref name=Scovel2000>Scovel, T. (2000). "A critical review of the critical period research." ''Annual Review of Applied Linguistics'', 20, 213–223.</ref><ref name=Piske>Piske, T., MacKay, I. R. A., & Flege, J. E. (2001). "Factors affecting degree of foreign accent in an L2: A review." ''Journal of Phonetics'', 29, 191–215.</ref>ทฤษฎีช่วงวัยหัวเลี้ยวหัวต่อระบุว่าหากการเรียนรู้เกิดขึ้นหลังจากวัยหัวเลี้ยวหัวต่อ (โดยปกติจะพิจารณาในช่วงวัยแรกรุ่น) วิธีการเข้าถึงเจ้าของสำเนียงถิ่นจะแตกต่างออกไปจากเจ้าของภาษาตามทฤษฎีต่างๆ<ref name=Scovel2000/><ref name="Mahdi">{{Cite journal|last=Mahdi|first=Rahimian|date=2018|title=Accent, intelligibility, and identity in international teaching assistants and internationally-educated instructors|hdl=1993/33028}}</ref>
 
ทฤษฎีช่วงวัยหัวเลี้ยวหัวต่อระบุว่าหากการเรียนรู้เกิดขึ้นหลังจากวัยหัวเลี้ยวหัวต่อ (โดยปกติจะพิจารณาในช่วงวัยแรกรุ่น) วิธีการเข้าถึงเจ้าของสำเนียงถิ่นจะแตกต่างออกไปจากเจ้าของภาษาตามทฤษฎีต่างๆ<ref name=Scovel2000/><ref name="Mahdi">{{Cite journal|last=Mahdi|first=Rahimian|date=2018|title=Accent, intelligibility, and identity in international teaching assistants and internationally-educated instructors|hdl=1993/33028}}</ref>
แม้ว่าหลายคนจะรับข้อมูลบางส่วนช่วงเวลาหัวเลี้ยวหัวต่อหรืออย่างใดอย่างหนึ่งในช่วงวัยเด็กซึ่งถือว่าก่อน "หน้าต่างหัวเลี้ยวหัวต่อ" จะปิดลง
ที่สำคัญพวกเขาอาจวางไว้ก่อนหน้าวัยรุ่นหรือคิดว่ามันเป็น "หน้าต่าง" ที่สำคัญกว่า ซึ่งอาจแตกต่างจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกคนขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นที่ไม่ใช่อายุเช่นระยะความนานที่เคยไปอาศัย<ref name=Piske/>

อย่างไรเสียสำหรับเด็กที่อายุประมาณหกปี เมื่อย้ายไปยังประเทศอื่นก็ยังมีความเป็นไปได้ที่จะพูดสำเนียงไม่ใช่เจ้าของภาษาได้อย่างสะดุดตาเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่<ref name=Flege/> ทั้งยังเป็นเรื่องยากมากสำหรับคนวัยหนุ่มที่จะสามารถเข้าถึงสำเนียงเจ้าของภาษาได้<ref>Bongaerts, T., van Summeren, C., Planken, B., & Schils, E. (1997). "Age and ultimate attainment in the pronunciation of a foreign language." ''Studies in Second Language Acquisition'', 19, 447–465.</ref> อันเนื่องมาจากเส้นประสาทการเรียนรู้ถูกปิดกั้นสำหรับผู้ที่ไม่ใช่เจ้าของภาษาส่วนใหญ่<ref>Long, M. H. (1990). "[https://scholarspace.manoa.hawaii.edu/bitstream/10125/38596/1/Long%20(1988)_WP7(1).pdf Maturational constraints on language development]." ''Studies in Second Language Acquisition'', 12, 251–285.</ref> ผู้ที่วิจัยด้านนี้ล้วนพูดเป็นเสียงเดียวกันว่าการเลียนแบบเจ้าของสำเนียงสำหรับผู้ใหญ่แล้วเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นแทบไม่ได้<ref name=Scovel2000/>
 
==อ้างอิง==