ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เงาะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎เงาะโรงเรียน: เนื้อหาซ้ำกับข้างล่างซึ่งละเอียดกว่า
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
| binomial_authority = [[Carolus Linnaeus|L.]]
}}
'''เงาะ''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Nephelium lappaceum}} Linn.) เป็นไม้ผลเมืองร้อนขนาดกลางในวงศ์ Sapindaceae เป็นผลไม้พื้นเมืองของ[[ประเทศมาเลเซีย]]<ref name="morton">{{cite web|url=http://www.hort.purdue.edu/newcrop/morton/rambutan.html| author=Morton JF|date=1987|title="Rambutan", in ''Fruits of Warm Climates''|pages=262–265|publisher=Center for New Crops & Plant Products, Purdue University Department of Horticulture and Landscape Architecture, W. Lafayette, IN}}</ref><ref name="Tindall1994">{{cite book|author=H. D. Tindall|title=Rambutan Cultivation|url=https://books.google.com/books?id=Ag-1Fzs0bxMC|date=1 January 1994|publisher=UN FAO|isbn=978-92-5-103325-8}}</ref> และประเทศอื่น ๆ ใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]<ref name="rambutan">{{cite web|url=http://rambutan.com | title=The Rambutan Information Website | publisher=Panoramic Fruit Farm, Puerto Rico | accessdate=25 June 2011}}</ref> โดยทั่วไปเงาะเป็นไม้ผลที่เจริญเติบโตได้ดี ในบริเวณที่มีความชื้นค่อนข้างสูง เงาะในประเทศไทย จึงนิยมปลูกในบริเวณภาค ตะวันออกและภาคใต้ อาทิ พันธุ์สีทอง พันธุ์น้ำตาลกรวด พันธุ์สีชมพู พันธุ์โรงเรียน และพันธุ์เจ๊ะมง เป็นต้น แต่พันธุ์เงาะที่นิยมปลูกเป็นการค้า มีแค่ 3 พันธุ์ คือ พันธุ์โรงเรียน พันธุ์สีทอง และพันธุ์สีชมพู ส่วนพันธุ์อื่น ๆ จะมีปลูกกันบ้างประปรายและโดยมากมักใช้เพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือใช้ประโยชน์ เพื่อการศึกษาทางวิชาการ<ref>อิทธิฤทธิ อึ้งวิเชียร. เงาะ. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย</ref> ในอดีตประเทศที่ผลิตและส่งออกรายใหญ่ได้แก่ ไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย แต่ปัจจุบันพบว่าประเทศผู้ผลิตใหม่ เช่น ออสเตรเลีย และฮอนดูรัส ได้เข้ามามีส่วนแบ่งในตลาด<ref>กรมวิชาการเกษตร (2546). เอกสารวิชาการ ศัตรูเงาะ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์</ref>เพิ่มมากขึ้น
 
== ลักษณะทั่วไป ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เงาะ"