ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องบินขับไล่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 68:
ในปีพ.ศ. 2473 สองความคิดที่แตกต่างในการรบทางอากาศเริ่มเกิดขึ้น ส่งผลให้เกิดการพัฒนาเครื่องบินปีกชั้นเดียวที่แตกต่างกัน ใน[[ญี่ปุ่น]]และ[[อิตาลี]]ยังคงมีความเชื่อว่าเครื่องบินขับไล่ที่มีอาวุธขนาดเบาและความว่องไวสูงจะเป็นบทบาทหลักในการต่อสู้ทางอากาศ เครื่องบินอย่าง[[นากาจิมา เคไอ-27]] [[นากาจิมา เคไอ-43]] และ[[มิตซูบิชิ เอ6เอ็ม ซีโร่]]ในญี่ปุ่น และ[[เฟียท จี.50]]และ[[มัคชี ซี.200]]ในอิตาลีเป็นตัวอย่างชัดเจนในแนวคิดนี้
 
อีกความคิดหนึ่งซึ่งมีในอังกฤษ เยอรมนี สหภาพโซเวียต และสหรัฐอเมริกาเป็นหลักคือความเชื่อว่าความเร็วสูงและแรงจีหมายถึงการรบทางอากาศที่เป็นไปแทบไม่ได้เลย เครื่องบินขับไล่อย่าง[[เมสเซอร์ชมิทท์ เบเอฟ 109]] [[ซูเปอร์มารีน สปิตไฟร์]] [[ยาคอฟเลฟโกเลฟ ยักยัค-1]] และ[[พี-40 วอร์ฮอว์ค|เคอร์ติส พี-40 วอร์ฮอว์ค]]ทั้งหมดล้วนถูกออกแบบให้มีความเร็วสูงและอัตราการไต่ระดับที่ดี ความคล่องตัวนั้นก็เป็นสิ่งที่พวกเขาต้องการ แต่มันไม่ใช่เป้าหมายหลัก
 
ในยุทธการคัลคีนกอลและการรุกรานโปแลนด์ในปีพ.ศ. 2482 สั้นเกินไปที่พวกเขาจะทดสอบเครื่องบินขับไล่ของพวกเขา ใน[[สงครามฤดูหนาว]]กองทัพอากาศฟินแลนด์ที่มีจำนวนมากกว่าได้ใช้รูปแบบฟิงเกอร์-โฟร์ของเยอรมนีเอาชนะกองทัพอากาศของรัสเซียที่มียุทธวิธีที่ด้อยกว่า