ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้าสุริเยนทราธิบดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 44:
 
== ครองราชย์ ==
ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมเด็จพระเจ้าเสือได้ถวายตัวเป็นมหาดเล็กรับราชการเป็นที่ โปรดปรานของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ต่อมาได้ตำแหน่งเป็นหลวงสรศักดิ์ สมัยสมเด็จพระเพทราชา หลวงสรศักดิ์ให้รับสถาปนาเป็นพระมหาอุปราช กรมพระราชวังบวรสถานมงคลซึ่งหวังจะได้ขึ้นครองราชสมบัติต่อจากสมเด็จพระเพทราชา แต่สมเด็จพระเพทราชากลับทรงโปรดปราน[[เจ้าพระขวัญ]] พระราชโอรสของพระองค์และ[[กรมหลวงโยธาทิพ]]แถมมีผู้คนมากมายต่างพากันนับถือ ทำให้กรมพระราชวังบวรฯเกิดความหวาดระแวงว่าราชสมบัติจะตกไปอยู่กับเจ้าพระขวัญ จึงลวงให้เจ้าพระขวัญมาสำเร็จโทษด้วยไม้ท่อนจันทร์ เมื่อสมเด็จพระเพทราชาซึ่งทรงประชวรทรงทราบทรงพระพิโรธกรมพระราชวังบวรฯ เป็นอันมากแลตรัสว่าจะไม่ยกราชสมบัติให้แก่กรมพระราชวังบวรฯ แล้วทรงพระกรุณาตรัสเวนราชสมบัติให้เจ้าพระพิไชยสุรินทร พระราชนัดดา หลังจากนั้นสมเด็จพระเพทราชาทรงสวรรคต เจ้าพระพิไชยสุรินทรทรงเกรงกลัวกรมพระราชวังบวรฯจึงไม่กล้ารับ และน้อมถวายราชสมบัติแด่กรมพระราชวังบวรฯ เมื่อกรมพระราชวังบวรฯได้ขึ้นครองราชสมบัติในปี
 
เมื่อสมเด็จพระเพทราชาซึ่งทรงประชวรทรงทราบทรงพระพิโรธกรมพระราชวังบวรฯ เป็นอันมากแลตรัสว่าจะไม่ยกราชสมบัติให้แก่กรมพระราชวังบวรฯ แล้วทรงพระกรุณาตรัสเวนราชสมบัติให้"เจ้าพระพิไชยสุรินทร" พระราชนัดดา หลังจากนั้นสมเด็จพระเพทราชาทรงสวรรคต เจ้าพระพิไชยสุรินทรทรงเกรงกลัวกรมพระราชวังบวรฯจึงไม่กล้ารับ และน้อมถวายราชสมบัติแด่กรมพระราชวังบวรฯ
 
เมื่อกรมพระราชวังบวรฯได้ขึ้นครองราชสมบัติในปี
พ.ศ. 2246 มีพระราชโอรส 2 พระองค์ คือ เจ้าฟ้าเพชร ([[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ]]) และเจ้าฟ้าพร ([[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]]) มีพระสมัญญานามว่า “เสือ”<ref name="พิจิตร" /> ตั้งแต่สมัยที่ยังดำรงตำแหน่งเป็น หลวงสรศักดิ์ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชมาแล้ว<ref name="เสือ">[[จุลลดา ภักดีภูมินทร์]]. [http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetail.asp?stcolumnid=718&stissueid=2436&stcolcatid=2&stauthorid=13 พระบัณฑูรใหญ่ พระบัณฑูรน้อย]{{dead link|date=August 2018}}. '''สกุลไทย''' ฉบับที่ ''...''2...ท 47 ประจำวันอังคารที่ 26 มิถุนายน 2544</ref>
 
ทรงมีความเด็ดขาดในการมีรับสั่งให้ผู้ที่ปฏิบัติงานใดต้องสำเร็จผลเป็นอย่างดี หากบกพร่องพระองค์จะมีรับสั่งให้ลงโทษ ไม่เฉพาะข้าราชบริพารเท่านั้น แม้พระราชโอรสทั้งสองก็เช่นกัน อย่างเช่น ในการเสด็จไปคล้องช้างที่เมือง[[นครสวรรค์]] มีรับสั่งให้เจ้าฟ้าเพชรและเจ้าฟ้าพรตัดถนนข้าม"บึงหูกวาง" โดยถมบึงส่วนหนึ่งให้เสร็จภายในหนึ่งคืน พระราชโอรสดำเนินงานเสร็จตามกำหนด แต่เมื่อเสด็จพระราชดำเนิน ช้างทรงตกหลุม ทรงลงพระราชอาญาเจ้าฟ้าเพชร แต่ภายหลังก็ได้รับพระราชทานอภัยโทษ<ref name="เสือ" />
 
== พระอุปนิสัย ==