ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประวัติศาสตร์โลก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Yaraponneeee (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: อิโมจิ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
DannyS712 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8510063 สร้างโดย Yaraponneeee (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
'''ประวัติศาสตร์โลก'''หรือ'''ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ'''เริ่มต้นที่[[ยุคหินเก่า]] ประวัติศาสตร์โลกไม่รวม[[ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ]]ที่ไม่ใช่มนุษย์และ[[ควอเทอร์นารี|ประวัติศาสตร์ธรณีวิทยา]] ยกเว้นตราบเท่าที่โลกธรรมชาตินั้นกระทบต่อชีวิตมนุษย์เป็นอย่างมาก ประวัติศาสตร์โลกประกอบด้วยการศึกษาทางโบราณคดีและหลักฐานลายลักษณ์อักษรตั้งแต่สมัยโบราณ ประวัติศาสตร์โบราณที่มีบันทึกเริ่มต้นจากการประดิษฐ์[[การเขียน]] ทว่า รากเหง้าแห่งอารยธรรมมีมาแต่ก่อนการประดิษฐ์การเขียน สมัยก่อนประวัติศาสตร์เริ่มต้นในยุคหินเก่า ต่อด้วย[[ยุคหินใหม่]]และ[[การปฏิวัติเกษตรกรรม]] (ระหว่าง 8000 ถึง 5000 ปีก่อนคริสตกาล) ใน[[พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์]] (Fertile Crescent) การปฏิวัติเกษตรกรรมเป็นเครื่องหมายการเปลี่ยนแปลงในประวัติศาสตร์มนุษย์ โดยมนุษย์เริ่มต้นทำการเกษตร คือ กสิกรรมและการเลี้ยงสัตว์อย่างเป็นระบบ<ref name="Tudge">{{cite book
คิดถึงนะ😩❤️
| last = Tudge | first = Colin | authorlink = Colin Tudge
| title = [[Neanderthals, Bandits and Farmers|Neanderthals, Bandits and Farmers: How Agriculture Really Began]]
| year = 1998 | publisher = Weidenfeld & Nicolson | location = London | isbn = 0-297-84258-7
}}</ref><ref>Bellwood, Peter. (2004). ''First Farmers: The Origins of Agricultural Societies'', Blackwell Publishers. ISBN 0-631-20566-7</ref><ref>Cohen, Mark Nathan (1977) ''The Food Crisis in Prehistory: Overpopulation and the Origins of Agriculture'', New Haven and London: Yale University Press. ISBN 0-300-02016-3.</ref> เมื่อเกษตรกรรมก้าวหน้าขึ้น มนุษย์ส่วนมากเปลี่ยนจากวิถีชีวิตเร่ร่อนมาเป็นตั้งถิ่นฐานเป็นเกษตรกรในนิคมถาวร การเร่ร่อนยังมีอยู่ในบางที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ห่างไกลซึ่งมีพืชที่เพาะปลูกได้ไม่กี่ชนิด<ref>See [[Jared Diamond]], ''[[Guns, Germs and Steel]]''.</ref> แต่ความมั่นคงสัมพัทธ์และผลิตภาพที่เพิ่มขึ้นจากกสิกรรมทำให้ชุมชนมนุษย์ขยายเป็นหน่วยที่ใหญ่กว่า ซึ่งความก้าวหน้าในการขนส่งก็มีส่วนช่วย
 
เมื่อกสิกรรมพัฒนา การเพาะปลูกธัญพืชมีความซับซ้อนขึ้นและทำให้มี[[การแบ่งงานกันทำ]]เพื่อเก็บอาหารระหว่างฤดูเพาะปลูก จากนั้นการแบ่งงานทำให้เกิดชนชั้นสูงที่สุขสบายและพัฒนาการ[[นคร]] สังคมมนุษย์ที่ซับซ้อนมากขึ้นทำให้ระบบการเขียนและการบัญชีมีความจำเป็น หลายนครพัฒนาบนตลิ่งทะเลสาบและแม่น้ำ ตั้งแต่ 3000 ปีก่อนคริสตกาล เกิดนิคมโดดเด่นและมีการพัฒนา เช่นใน[[เมโสโปเตเมีย]] ริมตลิ่ง[[แม่น้ำไนล์]]แห่งอียิปต์ และหุบ[[แม่น้ำสินธุ]] อาจมีอารยธรรมคล้ายกันพัฒนาขึ้นตามแม่น้ำสำคัญในจีน แต่หลักฐานทางโบราณคดีของการสร้างเมืองอย่างกว้างขวางในที่นั้นชัดแจ้งน้อยกว่า
แต่ปัจจุบัน พบหลักฐานเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
โบราณสถานเหอหมู่ตู้ ในประเทศจีน หรือ 7,000 ปีมาแล้ว ได้พบข้าวโบราณจำนวน 12 ตัน และเครื่องมือแปรรูปธัญพืช 170 กว่าชิ้น ในโบราณสถานเหอหมู่ตู้ เมืองอวี๋หยาว
 
ต่อมามีการพบขุดพบ “เม็ดข้าวคาร์บอน” หนึ่งเม็ดที่มีอายุมากกว่า 12,000 ปี ที่อวี้ฉานเหยียน อำเภอเต้า มณฑลหูหนาน ประเทศจีน
ซึ่งเป็นยุคสมัยที่เก่าแก่กว่าโบราณสถานทุกแห่ง
 
มหาวิทยาลัยวอชิงตัน ได้วิจัยเรียงลำดับของยีนในข้าวเจ้า พบว่า
“ลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียงของจีนคือแหล่งกำเนิดเพียงแห่งเดียวของข้าวเจ้าเมื่อ 8,500 ปีก่อน”
[ที่มา cim.chinesecio]
 
ประวัติศาสตร์[[โลกเก่า]] (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[ยุโรป]]และเมดิเตอร์เรเนียน) โดยทั่วไปแบ่งเป็น[[ยุคโบราณ]] ถึง ค.ศ. 476, [[สมัยกลาง]] ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึง 15 ซึ่งรวม[[ยุคทองของอิสลาม]] (ประมาณ ค.ศ. 750-1258) และ[[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา]]ยุโรปตอนต้น (เริ่มต้นประมาณ ค.ศ. 1300), [[ยุคใหม่ตอนต้น]] ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งรวม[[ยุคเรืองปัญญา]] และ[[ยุคใหม่ตอนปลาย]] นับแต่[[การปฏิวัติอุตสาหกรรม]]ถึงปัจจุบัน รวมทั้ง[[ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย]] ตะวันออกใกล้โบราณ กรีซโบราณและโรมโบราณมีความโดดเด่นในยุคโบราณ ในประวัติศาสตร์ยุโรปตะวันตก การเสียกรุงโรมมักยึดเป็นการสิ้นสุดของยุคโบราณและการเริ่มต้นของสมัยกลาง ขณะที่ยุโรปตะวันออกมีการเปลี่ยนผ่านจาก[[จักรวรรดิโรมัน]]เป็น[[จักรวรรดิไบแซนไทน์]] ซึ่งรุ่งเรืองต่อมาอีกเป็นเวลานาน กลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 การประดิษฐ์[[การพิมพ์]]สมัยใหม่ของ[[โยฮันน์ กูเทนแบร์ก]]<ref>{{cite web|accessdate=2008-05-20|url=http://www.open2.net/historyandthearts/discover_science/gberg_synopsis.html|title=What Did Gutenberg Invent?|publisher=BBC}}</ref> ซึ่งใช้[[การสื่อสาร]]แบบเคลื่อนที่ได้และเปลี่ยนแปลงอย่างสิ้นเชิง เป็นจุดสิ้นสุดของยุคกลางและนำไปสู่[[การปฏิวัติวิทยาศาสตร์]]<ref>Grant, Edward. The Foundations of Modern Science in the Middle Ages: Their Religious, Institutional, and Intellectual Contexts. Cambridge: Cambridge Univ. Pr., 1996.</ref> เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 18 การสะสมความรู้และเทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุโรป ได้ถึงจำนวนวิกฤต (critical mass) อันนำมาซึ่ง[[การปฏิวัติอุตสาหกรรม]]<ref>ดูเพิ่มใน Charles. ''Understanding the Industrial Revolution'' (2000) [http://www.questia.com/PM.qst?a=o&d=102816164 online edition]</ref>
 
ในส่วนอื่นของโลก เช่น ตะวันออกใกล้โบราณ จีนโบราณ และอินเดียโบราณ
 
[[เมื่อกล่าวถึงจีนโบราน จะหมายถึง:
เทียนอ่องสี หรือ ฝูซี (Fuxi)
อี้จิ้ง 8 ทิศ ผู้วางรากฐาน ของตัวอักษรภาพ
ตี่อ่องสี หรือ เสินหนง (Shennong)
ฉักกะลักษณ์ 64 ขยาย อี้จิ้ง
ริเริ่มนำใบชานั้นไปต้มกับน้ำ
ผู้วางรากฐาน ของตัวอักษรเลขฐานสอง
จักรพรรดิเหลืองหวงตี้(Haung Di)
กำเนิดตัวอักษร,เข็มทิศ,เครื่องปั่นดินเผา และการปลูหหม่อนเลี้ยงไหม]]
 
เส้นเวลาทางประวัติศาสตร์ได้คลี่ออกต่างกัน อย่างไรก็ดี จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 เนื่องจากการค้าโลกที่ขยายตัวและการล่าอาณานิคม ทำให้ประวัติศาสตร์ของอารยธรรมโลกส่วนมากสานเข้าด้วยกันอย่างแน่นหนา ในช่วงสองร้อยกว่าปีล่าสุด การเติบโตของความรู้ เทคโนโลยี การพาณิชย์ และศักยภาพการทำลายล้างของสงครามได้เร่งให้เกิดขึ้น ก่อให้เกิดโอกาสและอันตรายซึ่งปัจจุบันกำลังเผชิญชุมชนมนุษย์ที่อยู่อาศัยบนดาวเคราะห์ดวงนี้<ref>[http://stateoftheworld.reuters.com Reuters&nbsp;– The State of the World] The story of the 21st century</ref><ref>{{cite web|url=http://www.sciam.com/article.cfm?chanID=sa006&articleID=00031010-F7DA-1304-B72683414B7F0000 |title=Scientific American Magazine (September 2005 Issue) The Climax of Humanity |publisher=Sciam.com |date=2005-08-22 |accessdate=2009-04-18}}</ref>
 
== ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ==