ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Catherine Laurence (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 58.11.6.131 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Cuteystudio
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว SWViewer [1.3]
บรรทัด 15:
| dia3= [[:zh:廈門話|สำเนียงเอ้หมึง]]
| dia4= [[ภาษาจีนฮกเกี้ยนสำเนียงไต้หวัน|ภาษาไต้หวัน]]
| agency = None ([[จีน]]) กระทรวงศึกษาธิการและองค์กรเอกชน (ใน [[ไต้หวัน]])
| iso3iso1 = nan
}}
'''ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน''' หรือ '''ภาษาฮกเกี้ยน''' ([[ภาษาหมิ่นใต้]]:福建話, [[ภาษาจีนกลาง|ภาษาจีน]]:泉漳話) เป็นภาษาหมิ่นใต้ที่มีจำนวนผู้ใช้มากที่สุด มักจะใช้เรียกแทนภาษาหมิ่นใต้ ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐานมีแหล่งต้นกำเนิดมาจากจังหวัดจงาจิว เจียงจิวและจังหวัดเอ้หมึงในมณทฑฝูเจี้ยน นอกไปจากนี้ยังมีจำนวนผู้ใช้จำนวนมากในประเทศไต้หวัน สิงคโปร์ และประเทศฟิลิปปินส์บางส่วน
บรรทัด 24:
==ที่มาของชื่อ==
เกี่ยวกับการเรียกชื่อภาษาหมิ่นใต้นั้น ที่จริงแล้วยังมีคำอื่นที่ใช้เรียกตามความคลุมเครืออีกได้แก่ "ฮกเกี้ยน" (福建話), "หมิ่นใต้" (閩南話), "ไต้หวัน" (臺灣話),"ฮกเล๊า" (福佬話), "เอ๋อเล๊า" (鶴佬話), "โหล๊ก" (河洛話) โดยมีที่มาดังนี้
* "โหล๊ก" ในงานวิจัยจองอู๋ฮวาย〈河洛語閩南語中之唐宋故事〉<ref name="Wu 2008">{{cite web|title=臺灣閩南語之淵源與正名|author=[[吳坤明]]|work=臺灣學研究第五期|pages=54-73|date=June 2008年6月|publisher=臺灣學研究中心|url=http://www.ntl.edu.tw/public/Attachment/910289373634.pdf|format=pdf}}</ref><ref>[http://www.books.com.tw/exep/prod/booksfile.php?item=0010562497 臺灣話俗諺語典(上,下冊)‧序言],蕭藤村</ref>ได้อธิบายไว้ว่า
** 學佬話: เป็นคำที่ใช้เรียกในบริเวณข้างเคียงไหหลำ สำหรับชาวแคะเรียกว่าฮกโล่ (hok-ló, 福佬)
** 福佬話: เป็นอีกคำที่ชาวแคะใช้เรียก
บรรทัด 138:
| title = 閩南語辭典,第21页
| page = 21
| language = Southern Min
| publisher =
| location =
| isbnid = ISBN 9578447523
}}{{zh}}{{nan}}</ref>
! วรรณยุกต์
! colspan=2|จงาจิว
บรรทัด 171:
ภาษาฮกเกี้ยนทุกถิ่นสามารถสื่อสารอย่างเข้าใจกันได้
 
==อักษรศาสตร์และไวยากรณ์ไวทยากรณ์==
ภาษาฮกเกี้ยนจัดเป็น[[:en:Analytic language|ภาษาแยกคำ]]เหมือนภาษาไทย ดังนั้นคำแต่ละคำจะมีความหมายแยกออกชัดเจนและให้ความหมายตัวต่อตัว<ref>{{cite journal|last=Ratte|first=Alexander T.|date=May 2009|title=A DIALECTAL AND PHONOLOGICAL ANALYSIS OF PENGHU TAIWANESE|publisher=Williams College|location=Williamstown, Massachusetts|page=4|url=http://sanders.phonologist.org/Papers/ratte-thesis.pdf}}</ref> ปรกติแล้วจะเป็น ประธาน-กริยา-กรรม เหมือนภาษาไทย ทว่า ภาษาฮกเกี้ยนจะเป็นภาษาที่[[:en:Topic-prominent language|สิ่งสำคัญมาก่อน]] ดังนั้นไวยากรณ์ไวทยากรณ์จึงไม่มีมาตรฐาน ภาษาฮกเกี้ยนไม่มี[[:en:Grammatical tense|เทนซ์]] ไม่แบ่งเพศ ไม่มีเอกพจน์พหูพจน์ แต่จะเป็นการเติมคำแยกเหมือนภาษาไทย
===บุรุษสรรพนาม===
บุรุษสรรพนามในภาษาฮกเกี้ยนมีดังนี้
บรรทัด 203:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{วิกิภาษาอื่น|zh-min-nan}}
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{ภาษาจีน}}