ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอ็นโดเม็ตทรีโอมา"

ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''เอ็นโดเม็ตทรีโอมา''' ({{lang-en|endometrioma}}) เป็นการมีเนื้อเยื่อบุมดลูกในและบางทีบน[[รังไข่]] เป็นภาวะ[[เยื่อบุมดลูกต่างที่]]ที่พบบ่อยที่สุด<ref>{{Cite journal|last=Kaponis|first=Apostolos|last2=Taniguchi|first2=Fuminori|last3=Azuma|first3=Yukihiro|last4=Deura|first4=Imari|last5=Vitsas|first5=Charalampos|last6=Decavalas|first6=George O.|last7=Harada|first7=Tasuku|date=March 2015|title=Current treatment of endometrioma|url=https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=25769433|journal=Obstetrical & Gynecological Survey|volume=70|issue=3|pages=183–195|doi=10.1097/OGX.0000000000000157|issn=1533-9866|pmid=25769433|via=}}</ref> [[เยื่อบุมดลูก]]ต่างที่เป็นภาวะมีเนื้อเยื่อบุมดลูกอยู่นอก[[มดลูก]]<ref name=":0">{{Cite journal|last=Bulletti|first=Carlo|last2=Coccia|first2=Maria Elisabetta|last3=Battistoni|first3=Silvia|last4=Borini|first4=Andrea|date=2010-08-01|title=Endometriosis and infertility (a review)|journal=Journal of Assisted Reproduction and Genetics|language=en|volume=27|issue=8|pages=441–447|doi=10.1007/s10815-010-9436-1|pmid=20574791|pmc=2941592|issn=1058-0468}}</ref> การมีเยื่อบุมดลูกต่างที่สามารถส่งผลให้เกิดเนื้อเยื่อแผลเป็น สิ่งยึดติดและปฏิกิริยาการอักเสบ มันเป็นการเติบโตแบบไม่ร้าย (ไม่ใช่มะเร็ง) เอ็นโดเม็ตทรีโอมาพบในรังไข่มากที่สุด นอกจากนี้ยังเจริญในซอกทวารหนักและมดลูก (recto-uterine pouch) ผิวมดลูก และระหว่าง[[ช่องคลอด]]กับ[[ไส้ตรง]]{{sfn|Venes|page=808}}
 
== พยาธิสรีรวิทยา ==
เนื้อเยื่อบุมดลูกเป็นเนื้อเยื่อเมือกที่ปกติบุมดลูก [[เยื่อบุมดลูก]]มีเลือดมาเลี้ยงมาก และฮอร์โมน[[เอสโตรเจน]]และโพรเจสเตอโรน[[โปรเจสเตอโรน]]กำกับการเติบโต{{sfn|Venes|page=810}} เยื่อบุมดลูกประกอบด้วยเนื้อเยื่อแบบต่อมและส่วนพยุงจากเยื่อบุในมดลูก<ref name=":0" />
 
== การรักษา ==
 
=== ยา ===
[[ยาแก้อักเสบแบบไม่ใช่สเตอรอยด์]] (NSAIDs) บ่อยครั้งใช้ครั้งแรกในผู้ป่วยเจ็บเชิงกราน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากยังไม่สามารถวินิจฉัยเยื่อบุมดลูกต่างที่อย่างแน่ชัด (ต้องใช้การตัดออกและการตัดเนื้อออกตรวจ) เป้าหมายของการบำบัดด้วยยาโดยตรงคือการบรรลุภาวะไม่มีไข่ตก ตรงแบบจะต้องใช้การคุมกำเนิดด้วยฮอร์โมน นอกจากนี้ยังบรรลุได้ด้วยสารโปรเจสเตอโรน มีการใช้สารเหล่านี้หาก[[ยาเม็ดคุมกำเนิด]]และ NSAIDs ไม่มีผล สามารถใช้ [[GnRH]] ร่วมกับเอสโดรเจนและโปรเจสเตอโรนหากไม่มีประสิทธิผลแต่มีอาการของเอสโตรเจนต่ำลดลง ยาเหล่านี้มักไม่มีผลในการรักษาเอ็นโดเม็ตทรีโอมาและการบรรเทาอาการมีผลสั้นแม้กินยา การบำกบัดด้วยสารเหล่านี้มีผลข้างเคียงที่อาจคงอยู่ถาวรได้หลายอย่าง เช่น ร้อนวูบวาบ เสียมวลกระดูก เสียงแหบ น้ำหนักขึ้นและมีขนใบหน้าขึ้น<ref>{{Cite web|url=https://www.nichd.nih.gov/health/topics/endometri/conditioninfo/treatment#hormone|title=What are the treatments for endometriosis?|last=|first=|date=|website=|language=en|archive-url=|archive-date=|dead-url=|access-date=2018-11-08}}</ref>
 
=== การผ่าตัด ===
บรรทัด 13:
 
การผ่าตัดด้วยเลเซอร์และการจี้ด้วยไฟฟ้า (cauterization) ถือว่ามีผลน้อยกว่ามากและเผาไหม้เฉพาะชั้นบนของเนื้อเยื่อบุมดลูกเท่านั้น ทำให้เอ็นโดเม็ตทรีโอมาและเยื่อบุมดลูกต่างที่เติบโตกลับมาอย่างรวดเร็ว เช่นเดียวกัน การระบายเอ็นโดเม็ตทรีโอมาและการรักษาโดยใช้สารก่อกระด้าง (sclerotherapy) เป็นเทคนิคที่ยังเป็นที่ถกเถียงสำหรับการเอาเอ็นโดเม็ตทรีโอมา การบำบัดแบบอนุรักษ์สามารถใช้เพื่อรักษาภาวะเจริญพันธุ์ในผู้ป่วยอายุน้อยแต่สามารถมีผลเพิ่มค่า FSH ดังที่กล่าวไปข้างต้น และทำให้รังไข่ผลิตได้น้อยลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าในกระบวนการผ่าตัดมีการนำเนื้อเยื่อรังไข่ที่ทำหน้าที่ได้ออก
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Medical resources
| DiseasesDB =
| ICD10 = {{ICD10|N|80|1|n|80}}
| ICD9 = {{ICD9|617.1}}
| ICDO =
| OMIM =
| MedlinePlus =
| eMedicineSubj =
| eMedicineTopic =
| MeshID =
}}
10,250

การแก้ไข