ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โอม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
'''โอม''' ({{audio|Om pro.ogg|listen}}, [[International Alphabet of Sanskrit Transliteration|IAST]]: ''Oṃ'', [[เทวนาครี]]: {{script|Deva|'''ॐ'''}}, [[ภาษากันนาดา|กันนาดา]]: ಓಂ, [[อักษรทมิฬ|ทมิฬ]]: ௐ, [[อักษรมลยาฬัม|มลยาฬัม]]: ഓം, [[อักษรเตลูกู|เตลูกู]]: ఓం) เป็นหนึ่งในประติมานวิทยาที่พบใน[[ศาสนาฮินดู]] [[ศาสนาพุทธ]] [[ศาสนาเชน]] ตั้งแต่ยุคโบราณและยุคเก่า ในงานเขียน วิหาร<ref>T. A. Gopinatha Rao (1993), ''Elements of Hindu Iconography'', Volume 2, Motilal Banarsidass, {{ISBN|978-8120808775}}, p. 248</ref><ref>Sehdev Kumar (2001), ''A Thousand Petalled Lotus: Jain Temples of Rajasthan'', {{ISBN|978-8170173489}}, p. 5</ref> โอมเป็นสัญลักษณ์ที่มีความหมายในเชิงจิตวิญญาณในทุก[[ศาสนาอินเดีย]] (ฮินดู พุทธ ไชนะ และ [[ศาสนาซิกข์|ซิกข์]]) ส่วนความหมายเฉพาะและความหมายแฝงแตกต่างกันไปตามคำสอนและศาสนา ความเขื่อของแต่ละกลุ่ม
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Twemoji2 1f549.svg|thumb|250px|[[เอโมจิ]]โอม เขียนแบบ[[อักษรเทวนาครี]]]]
 
พยางค์ “โอม” บางครั้งก็ถูกเรียกว่า “องการ” (ओङ्कार, ''{{IAST|oṅkāra}}''), “อณการ” (ओंकार, ''{{IAST|oṃkāra}}'') และ “ปรณวะ” (प्रणव, ''{{IAST|praṇava}}'')<ref name="Misra2018">{{cite book|author=Nityanand Misra|title=The Om Mala: Meanings of the Mystic Sound|url=https://books.google.com/books?id=e89eDwAAQBAJ&pg=PT104|date=25 July 2018|publisher=Bloomsbury Publishing|isbn=978-93-87471-85-6|pages=104–}}</ref><ref>"[http://spokensanskrit.de/index.php?tinput=OM&direction=SE&script=HK&link=yes&beginning=0 OM]". ''Sanskrit English Dictionary'', University of Köln, Germany</ref>
'''โอม''' ({{lang-sa|'''ॐ'''}}) เป็นเสียงศักดิ์สิทธิ์และ[[สัญรูป]]ทางจิตวิญญาณใน[[ศาสนาแบบอินเดีย]] นอกจากนี้ยังเป็นมนตร์ (mantra) ใน[[ศาสนาฮินดู]],[[ศาสนาพุทธ]], [[ศาสนาอิสลาม]] [[ศาสนาเชน]]
 
โอมเป็นส่วนหนึ่งของสัญลักษณ์ตัวแทนที่พบในต้นฉบับ ศาสนสถาน อารามและที่สงบทางจิตวิญญาณ (spiritual retreat) สมัยโบราณและสมัยกลางในศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธและศาสนาเชน สัญลักษณนี้มีความหมายทางจิตวิญญาณในทุกธรรมะ (dharma) อินเดีย แต่ความหมายและความหมายโดยนัยของโอมแตกต่างกันระหว่างแต่ละสำนักในและระหว่างประเพณีต่าง ๆ
 
==อ้างอิง==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โอม"