ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เบริล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 8:
เบริลเป็น[[อัญมณี]]ที่เรียกได้ว่ามีความหลากหลายเหมือนกันอันเนื่องมาจากมีธาตุอื่นมาเจื่อปนทำให้เกิดสีต่าง ๆ ดังนี้
* อะความารีน (Aquamarine) มาจากภาษาลาติน น้ำทะเล สีฟ้าอ่อนมาจากธาตุเหล็ก ( Fe2+ ) ที่เจื่อปนสีที่พบเป็นพลอยสีเขียวแถบน้ำเงิน จนถึงน้ำเงินแถบเขียว สีฟ้า สีฟ้าน้ำทะเล สีน้ำเงินสดเรียกว่า Brazillian Aquar Marine พบที่ บราซิล แซมเบีย
* [[มรกต]] (Emerald) เป็นเบริลที่มีสีเขียว โดยสีเขียวเกิดจากธาตุ[[โครเมียม]]ถ้าสีเขียวอ่อนเกินไปจะไม่เรียกมรกต แต่จะเรียกว่า เบริลสีเขียว (green berlyberyl)แหล่งผลิตที่สำคัญ คือ โคลัมเบีย บราซิล อัฟกานีสถาน แซมเบีย ซิมบับเว ทานซาเนีย
* สีทอง (Golden beryl and heliodor) สีที่พบมีตั้งแต่สีเหลืองอ่อนจนถึงสีเหลืองทอง ต่างจาก emerald เพราะเบริลสีทองจะมีรอยตำหนิเล็กน้อยบางครั้งเรียกอีกชื่อว่า heliodor สีเหลืองมาจากธาตุ Fe3+ พบที่ มากัสก้า บราซิล นามิเบีย
* ไร้สี ([[Goshenite]]) เป็นเบริลที่ไม่มีธาตุอื่นเจือปน (pure berlyberyl) เป็นประเภทไม่มีสี มีลักษณะโปร่งใส พบครั้งแรกที่เมืองโกเชน ([[Goshen]]) รัฐแมสซาจูเซท ([[Massachusetts]]) ประเทศสหรัฐอเมริกา ชื่อ โกสชีไนต์ ([[Goshenite]]) ตั้งขึ้นหลังจากพบขึ้นที่เมืองนี้เป็นครั้งแรก ซึ่งเบริลไร้สี มีอัตรความแข็งอยู่ที่ 7.5 - 8 มีโครงสร้างเป็นรูปแบบ [[Hexagonal]] ใช้ทำเครื่องประดับได้หลากหลายประเภท อาทิเช่น สร้อยคอ ต่างหู และกำไลข้อมือ เป็นต้น มักพบในหิน เพกมาร์ไทต์([[Pegmatite]]) และหินแกรนิต([[Granite]])
* สีชมพู (Morganite) เบริลสีชมพู อาจเรียกว่า rose beryl, pink emerald, pink beryl และ cesian beryl ธาตุที่ทำให้เกิดเป็นสีชมพูคือมี Mn2+มาเจือปน พบที่ อเมริกา บราซิล มาดากัสก้า
* เบริลสีแดง (Red berlyberyl) ที่เรารู้จักกันในอีกชื่อคือ Red emerald, Bixbite หรือ Scarlet emerald ซึ่งจัดได้ว่าเป็นอัญมณีที่หายาก
* Bixbite หมายถึง เบริลที่มีสีแดงเข้ม (dark red) ซึ่งธาตุที่เจือปนคือแมงกานีส ( Mn3+) มาแทนอะลูมิเนียมในโครงสร้าง แร่ที่มีความสัมพันธ์กับเบริลสีแดงได้แก่ quartz, orthoclase, topaz, spessartine, pseudobrookite และ hematite
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เบริล"