ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ดูเพิ่มที่|คณะราษฎร|การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475}}
 
'''ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร'''แสดงรายการเหตุการณ์สำคัญนับตั้งแต่การก่อตั้งคณะราษฎรในปี 2469 จนหมดอำนาจในปี 25032490
 
[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|เหตุการณ์ปฏิวัติสยาม]]เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทย และทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์ที่เคยเป็นผู้ปกครองสูงสุดของประเทศมาช้านานเสียอำนาจส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงดังกล่าวใน พ.ศ. 2475 การต่อสู้ทางการเมืองก็ยังมิได้จบลงไปอย่างสิ้นเชิง ยังคงมีการต่อสู้กันระหว่างผู้นำใน[[สมบูรณาญาสิทธิราชย์|ระบอบเก่า]] กับ[[ประชาธิปไตย|ระบอบใหม่]] หรือความขัดแย้งในผู้นำคณะราษฎรด้วยกันเอง โดยการต่อสู้ทางการเมืองและทางความคิดอุดมการณ์นี้ได้ดำเนินต่อเนื่องยาวนานเป็นเวลากว่าจน[[รัฐประหารในประเทศไทย 25พ.ศ. ปีภายหลังจากการปฏิวัติ2490]] และนำไปสู่ยุคตกต่ำของคณะราษฎรในกาลต่อมา {{cn-span|จนถือได้ว่าหมดเป็นการล้างอำนาจทั้งในทางการเมืองและในทางสัญลักษณ์อุดมการณ์ เมื่อวันชาติ 24 มิถุนายน ซึ่งระลึกถึงวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง ถูกยกเลิกใน พ.ศ. 2503}}ของคณะราษฎรเสียสิ้น
 
== บุคคลที่เกี่ยวข้อง ==
บรรทัด 22:
{{col-2}}
* [[พระยาฤทธิอัคเนย์]] (สละ เอมะศิริ)
* [[หลวงพิบูลสงคราม]] (แปลก ขีตตะสังคะ; จอมพล แปลก พิบูลสงคราม)
* [[พระยามโนปกรณ์นิติธาดา]] (ก้อน หุตะสิงห์)
* [[พระยาศรีสิทธิสงคราม]] (ดิ่น ท่าราบ)
* [[หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์]] (ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์)
* [[หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]]
* [[ทวี บุณยเกตุ]]
* [[ควง อภัยวงศ์]] (หลวงโกวิทอภัยวงศ์)
* [[หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช]]
* [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]]
*[[เผ่า ศรียานนท์]]
* [[พจน์ สารสิน]]
{{col-end}}
 
เส้น 122 ⟶ 118:
* [[19 พฤษภาคม|19]]-[[26 พฤษภาคม]] - [[พรรคประชาธิปัตย์]]อภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล พล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ นานถึง 7 วัน 7 คืนติดต่อกัน จนถูกเรียกว่า "มหกรรม 7 วัน" การลงมติปรากฏว่า พล.ร.ต.ถวัลย์ ได้มติไว้วางใจให้ดำรงตำแหน่งต่ออย่างท่วมท้น แต่เนื่องจากกระแสกดดันอย่างมากทั้งในและนอกสภาผู้แทนราษฎร จึงต้องลาออกในวันรุ่งขึ้น แต่ก็กลับเข้ารับตำแหน่งอีกครั้งในวันถัดมา
* [[8 พฤศจิกายน]] - พล.ท.[[ผิน ชุณหะวัณ]] และ น.อ.[[กาจ กาจสงคราม]] นำกำลังทหารยึดอำนาจจากปกครองจากรัฐบาล พล.ร.ต.[[ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์]] (รับช่วงต่อจากนายปรีดี) โดยอ้างว่าไม่สามารถสะสาง[[เหตุการณ์สวรรคตของรัชกาลที่ 8|กรณีสวรรคต]]ได้ และได้ทำการฉีกรัฐธรรมนูญ ฉบับปี พ.ศ. 2489 ทิ้ง<ref name="soldier-politics">ทหารกับการเมืองในอุษาคเนย์: ศึกษาเปรียบเทียบในกรณีของ ไทย พม่า อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์, ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (บรรณาธิการ) </ref> จากเหตุการณ์[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490|รัฐประหาร]]นี้ ทำให้นายปรีดี และพล.ร.ต.ถวัลย์ ต้องหลบหนีออกนอกประเทศไปยัง[[สหรัฐอเมริกา]] ในขณะนั้นรัฐบาลสหรัฐอเมริกาให้ความสนับสนุนฝ่ายรัฐประหาร นายปรีดีจึงเดินทางไป[[ประเทศจีน|จีน]]แทน<ref name="geocities-siamintellect" /> อนึ่ง กรณีสวรรคตยังส่งผลให้กลุ่มการเมืองฝ่ายนายปรีดีต้องพลอยหมดบทบาทจากเวทีการเมืองไทยภายหลังการรัฐประหารครั้งนี้ด้วย
* [[9 พฤศจิกายน]] - ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ (หรือที่รู้จักกันว่า "รัฐธรรมนูญใต้ตุ่ม") ในการรัฐประหารวันที่ 8 พฤศจิกายนนี้ เป็นการเปิดศักราชใหม่ของการยึดอำนาจแล้วทำลายรัฐธรรมนูญเดิมเสีย<ref name="role-thai-politics">บทบาทเส้นทางประวัติศาสตร์ของรัฐธรรมนูญในระบบประชาธิปไตยไทย, ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ</ref>
* [[10 พฤศจิกายน]] - นายควง อภัยวงศ์ ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกเป็นวาระที่ 3
 
=== [[พ.ศ. 2491]] ===
* [[6 มกราคม]] - การเลือกตั้งทั่วไป
* [[29 มกราคม]] - [[พรรคประชาธิปัตย์]]ชนะเลือกตั้งเป็นรัฐบาล และนายควง อภัยวงศ์ จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อ หลังจากกำลังทหารทำการยึดอำนาจและได้มีกำหนดให้เลือกตั้ง
* [[6 เมษายน]] - คณะทหารในกลุ่ม 4 คน นำโดย น.อ.[[กาจ กาจสงคราม]] ได้บีบบังคับให้นายควงลาออกและ แต่งตั้ง [[หลวงพิบูลสงคราม|จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] เป็นนายกรัฐมนตรีแทน ในการรัฐประหารครั้งนี้ได้พลิกโฉมหน้าการเมืองไทยไปโดยสิ้นเชิง เพราะอำนาจที่แท้จริงยังอยู่ที่คณะทหาร และที่สำคัญการรัฐประหารนี้เป็นการขจัดกลุ่มอำนาจเก่าของ นายปรีดี พนมยงค์ ให้สิ้นไปจากเวทีการเมือง ส่งผลให้นายปรีดี ต้องขอลี้ภัยการเมืองที่ต่างประเทศตราบจนเสียชีวิต
 
=== [[พ.ศ. 2492]] ===
* [[26 กุมภาพันธ์]] - [[กบฏวังหลวง]]: นายปรีดีเดินทางกลับเข้าเมืองไทย และร่วมกับพรรคพวกกลุ่มหนึ่งพยายามยึดอำนาจคืน แต่ประสบความล้มเหลว นายปรีดีจึงต้องหนีกลับไปประเทศจีนอีกครั้ง<ref name="geocities-siamintellect" />
* [[4 มีนาคม]] - นาย[[ทองอินทร์ ภูริพัฒน์]] นาย[[ถวิล อุดล]] และนาย[[จำลอง ดาวเรือง]] สามใน "[[สี่เสืออีสาน]]" ถูกยิงคารถระหว่างเคลื่อนย้ายผู้ต้องหาโดยไม่มีตำรวจได้รับความบาดเจ็บสักคน<ref name="history-politics" /> กลายเป็นที่มาของ[[คดีสังหาร 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492]]
 
=== [[พ.ศ. 2494]] ===
* [[29 มิถุนายน]] - [[กบฏแมนฮัตตัน]]: เกิดการกบฏเมื่อ[[ทหารเรือ]]กลุ่มหนึ่ง นำโดย น.อ.อานน บุญฑริกธาดา รน. และ น.ต.มนัส จารุภา รน. ทำการจี้ตัวจอมพล ป. พิบูลสงคราม จากเรือแมนฮัตตัน ไปคุมขังไว้ที่เรือศรีอยุธยา
* [[29 พฤศจิกายน]] - [[รัฐประหารเงียบ]]: จอมพล ป. พิบูลสงคราม ทำการยึดอำนาจรัฐบาลตนเอง<ref name="role-thai-politics" />
 
=== [[พ.ศ. 2495]] ===
* [[26 กุมภาพันธ์]] - มีการเลือกตั้งทั่วไป พรรคประชาธิปัตย์ ฝ่ายค้าน[[คว่ำบาตร]]การเลือกตั้ง จากเหตุที่ จอมพล ป. ทำการรัฐประหารตัวเอง
* [[13 ธันวาคม]] - นาย[[เตียง ศิริขันธ์]] หนึ่งใน "[[สี่เสืออีสาน]]" ถูกฆ่ารัดคอและเผาศพทิ้งในสมัยรัฐบาลคณะรัฐประหาร
 
=== [[พ.ศ. 2498]] ===
* [[17 กุมภาพันธ์]] - นาย[[เฉลียว ปทุมรส]] นาย[[ชิต สิงหเสนี]] และ นาย[[บุศย์ ปัทมศริน]] ถูก[[โทษประหารชีวิต|ประหารชีวิต]] จากข้อกล่าวหาว่ามีส่วนลอบปลงพระชนม์รัชกาลที่ 8<ref name="kill-rama8-kill">50 ปีการประหารชีวิต 17 กุมภาพันธ์ 2498, สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล, นิตยสารฟ้าเดียวกัน ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 เม.ย.-มิ.ย. 2548</ref>
 
=== [[พ.ศ. 2500]] ===
* [[26 กุมภาพันธ์]] - รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม จัดการเลือกตั้งทั่วไป แต่ว่าเป็นการเลือกตั้งที่ร่ำลือว่าสกปรกที่สุด เต็มไปด้วยการโกงจากฝ่ายรัฐบาล ต้องนับคะแนนยาวนานถึง 7 วัน 7 คืน
* [[16 กันยายน]] - [[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500]]: คณะทหารที่นำโดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ยึดอำนาจจากรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม<ref name="thai-cons-dev">การเมืองไทยกับพัฒนาการรัฐธรรมนูญ, เสน่ห์ จามริก</ref>
 
== หมายเหตุ ==