ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จุลศักราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Xiengyod~commonswiki (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
คำว่าจุลศักราชเป็นคำในภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี-สันสกฤต ประกอบด้วยคำว่า "จุล" ในภาษาบาลี แปลว่า เล็ก, น้อย และคำว่า "ศก" และ "ราช" ในภาษาสันสกฤต อันมีความหมายโดยพยัญชนะว่า "ราชาแห่งอาณาจักรศกะ" (ในที่นี้หมายถึงอาณาจักรที่เรียกชื่อว่า Scythians ในภาษาอังกฤษ) คำว่าศักราชได้เปลี่ยนมาใช้ในความหมายว่า "ปี" หรือ "ยุค" ในบรรดาประเทศต่างๆ ที่ยอมรับวัฒนธรรมอินเดียในภูมิภาคอินโดจีน ซึ่งรวมถึงประเทศไทยด้วย<ref>[[#rit|Busyakul 2004]]: 473.</ref>
 
ในประเทศไทยนั้น มีการใช้จุลศักราชเป็นคู่ตรงข้ามกับ "ศาลิวาหนะศักราช" (แปลว่า ศักราชของพระเจ้าศาลิวาหนะแห่งอาณาจักรศกะ) ซึ่งเป็นที่รู้จักทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในชื่อ [[มหาศักราช]] ({{lang-my|မဟာ သက္ကရာဇ်မဟာသက္ကရာဇ်}}, {{IPA-my|məhà θɛʔkəɹɪʔ|}}) อันมีความหมายว่า "ศักราชใหญ่"
 
==ความแตกต่าง==
บรรทัด 184:
 
==== การเรียกศกตามเลขท้ายปี ====
ในระบบปฏิทินแบบจุลศักราชของไทย และกัมพูชา จะมีการเรียกชื่อศกตามเลขท้ายปีจุลศักราชโดยใช้ชื่อเรียกอย่างเดียวกันตามลำดับเลขในภาษาบาลี-สันสกฤต ส่วนในล้านนาและล้านช้างก็มีระบบที่คล้ายคลึงกัน คือระบบ "แม่มื้อ" ใช้กำหนดเรียกชื่อศกในทุกรอบ 10 ปี ดังนี้
 
{| class="wikitable" border="1"
บรรทัด 245:
 
ในอดีต การเรียกชื่อศกตามท้ายเลขปีจุลศักราชของไทยและกัมพูชานั้นจะต้องใช้คู่กับชื่อปีนักษัตรเสมอ ส่วนล้านนาและล้านช้างก็เรียกชื่อปีด้วยแม่มื้อและลูกมื้อในทำนองเดียวกัน ต่างกันที่ระบบของไทยและกัมพูชาจะเอาชื่อปีนักษัตรขึ้นก่อนเลขศก ส่วนระบบของล้านนาล้านช้างจะเอาแม่มื้อ (เลขศก) ขึ้นก่อนลูกมื้อ (ปีนักษัตร) เช่น ปี ค.ศ. 2019 ตามปฏิทินไทยและกัมพูชาตรงกับ '''"ปีกุนเอกศก จุลศักราช 1381"''' เทียบกับระบบแม่มื้อลูกมื้อของล้านนาและล้านช้าง ตรงกับ '''"ปีกาไค้ จุลศักราช 1381"''' เป็นต้น ระบบดังกล่าวนี้ยังคงมีการใช้สืบมาจนถึงปัจจุบัน ยกเว้นในประเทศกัมพูชา ที่แม้จะยังคงการบอกเลขท้ายจุลศักราชไว้ แต่เมื่อบอกเลขปีศักราช กลับเลือกใช้พุทธศักราชแทน เช่น "ปีกุนเอกศก จุลศักราช 1381" ในปฏิทินกัมพูชาจะใช้ว่า '''"ปีกุนเอกศก พุทธศักราช 2563"''' เป็นต้น (ระบบการนับพุทธศักราชของกัมพูชาเร็วกว่าที่ไทยใช้อยู่ 1 ปี)
 
<!--
=== หลักการคำนวณ ===
ระบบปฏิทินจุลศักราชมีความคล้ายคลึงกับระบบปฏิทินของพม่า ซึ่งอ้างอิงพื้นฐานการคำนวณระบบปฏิทินฮินดูตามคัมภีร์[[สูรยะสิทธันตะ]]ฉบับดั้งเดิม แต่แตกต่างจากระบบปฏิทินฮินดูตรงที่มีการนำเอา[[วัฏจักรเมตอน]] (Metonic cycle) มาร่วมใช้ในการคำนวณปฏิทินด้วย ทั้งนี้ วัฏจักรเมตอน คือ ช่วงระยะเวลาซึ่งใกล้เคียงกับตัวคูณร่วมน้อยที่สุดของปีสุริยคติ และปีจันทรคติ ซึ่งใกล้เคียงกับระยะเวลา 19 ปี ระบบปฏิทินจุลศักราชนั้นมีการเพิ่มวันและเดือนในบางระยะ เพื่อชดเชยความคาดเคลื่อนของวันและเดือนให้มีจำนวนใกล้เคียงกับระบบปฏิทินสุริยคติมากขึ้น<ref name=yo-2001-398-399>Ohashi 2001: 398–399</ref>
Chula Sakarat, like the Burmese calendar, was largely based on the [[Hindu calendar]], an older version of ''[[Surya Siddhanta]]''. However, unlike Hindu calendar, it also uses a 19-year [[Metonic cycle]]. In order to reconcile the [[sidereal month]]s of Hindu calendar with Metonic cycle's [[tropical year|solar years]], the calendar inserts intercalary months and days on some schedule.<ref name=yo-2001-398-399>Ohashi 2001: 398–399</ref>
 
==== การทดวันและเดือนอธิกมาสเพิ่มเติม ====
ระบบปฏิทินจุลศักราชของไทยใช้รูปแบบของปี 3 แบบ ที่คล้ายคลึงกับระบบปฏิทินพม่า แต่ไม่ได้เหมือนกันเสียทีเดียวนัก<ref name=jce-1989-9-10/> ในปฏิทินแต่ละแบบดังกล่าว ในปีปกติจะมีจำนวนวัน 354 วัน ส่วนปีอธิกมาสมีจำนวนวัน 384 ว้น อย่างไรก็ตาม ในขณะที่ปฏิทินพม่าจะเพิ่มวันชดเชยเพียงหนึ่งครั้งเมื่อวัฏจักรเมตอนเวียนมาถึง ปฏิทินจุลศักราชของไทยกลับใช้วิธีเพิ่มวันชดเชยลงในปีปฏิทินปกติแทน อย่างไรก็ตาม วันชดเชยที่เกิดขึ้นนั้นทั้งระบบปฏิทินพม่าและปฏิทินจุลศักราชของไทย จะถูกนำไปเพิ่มเพิ่มในช่วงเดือนเดียวกัน คือ ช่วงเดือนเชฎฐะ ซึ่งตรงกับเดือน 7 ของไทย และเดือนนายอนของพม่า<ref name=jce-1989-20>Eade 1989: 20</ref> จึงทำให้บางปีมีเดือน 8 (เดือนอาสาฬหะ) สองหน แบ่งเป็นเดือน 8 บูรพาษาฒ (เดือนแปดแรก) และเดือน 8 อุตราษาฒ (เดือนแปดหลัง)
The Siamese system uses three similar but not identical types of lunar years used by the Burmese system.<ref name=jce-1989-9-10/> Each calendar has the same regular year of 354 days and a leap year of 384 days. However, whereas the Burmese calendar adds the intercalary day only in a leap cycle according to its Metonic cycle, the Siamese calendar adds the intercalary day to a regular year. The Siamese calendar does add the extra day in the same place (Jyestha/Nayon), however.<ref name=jce-1989-20>Eade 1989: 20</ref>
 
{| class="wikitable" border="1"
|-
! width="150"|Calendarปฏิทิน
! width="100"|Regularปีปกติ
! width="100"|Small leap yearปีอธิกมาสน้อย
! width="100"|Big leap yearปัอธิกมาสใหญ่
|-
| ปฏิทินพม่า
| Burmese
| 354
| 384
| 385
|-
| ปฏิทินจุลศักราชแบบสยาม
| Chula Sakarat
| 354
| 355
| 384
|}
<!--
 
==== ความยาวของปี ====
Down to the mid-19th century, the Burmese calendar and its Siamese cousin both used the ''Surya'' method. But between 1840 and 1853, [[Konbaung Dynasty]] switched to what it believed was a more accurate method called ''Thandeikta'' (a hybrid of the old ''Surya'' and an updated version of ''Surya'' from India). Thandeikta introduced a slightly longer solar year (0.56 second a year longer than the old system) and a slightly longer lunar month that produces a smaller gap between the two. However, it has turned out that the new system is actually slightly ''less'' accurate (0.56 second a year) than the old system in terms of the drift from the scientifically measured [[tropical year]]. At any rate, the old and the new systems are 23 minutes 50.8704 seconds and 23 minutes 51.4304 seconds respectively ahead of the actual tropical year. The error continues to mount.<ref name=ambi-26-27>Irwin 1909: 26–27</ref>