ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชีวิตของพระนางพรหมจารี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
มิวนิค→มิวนิก
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
ชีวิตขอพระแม่มารีย์บางครั้งก็รวมกับภาพชุด[[ชีวิตของพระเยซู]]หรือบางครั้งก็จะรวมกับฉากจาก[[พระมหาทรมานของพระเยซู]] ถ้ารวมก็มักจะข้ามจากเมื่อพระเยซูยังทรงพระเยาว์ไปจนถึงตอนที่พระแม่มารีเสียชีวิต และจบด้วยฉากพบ[[พระเยซูในหมู่นักปราชญ์]] (Christ among the Doctors) ซึ่งเป็นฉากสุดท้ายของพระเยซูเมื่อยังทรงพระเยาว์
 
ภาพชุดชีวิตของพระแม่มารีที่สำคัญที่สุดชุดหนึ่งก็ได้แก่ภาพภายใน[[ชาเปลทอร์นาบุโอนิ]] (Tornabuoni Chapel) ภายใน[[โบสถ์ซานตามาเรีย โนเวลลา]]ที่[[ฟลอเรนซ์]]โดย[[โดเมนนิโค เกอร์ลันเดา]]ที่วาดระหว่างปี [[ค.ศ. 1485]] และปี [[ค.ศ. 1490]] ใน[[ชาเปลสโครเวยี]] (Scrovegni Chapel) ที่[[ปาดัว]]โดย[[จอตโต ดี บอนโดเน]] ที่เขียนเสร็จราวค.ศ. 1305 และ [[มาเอสตา (ดุชโช)|มาเอสตา]] (Maestà) โดย[[ดุชโช]]ที่เขียนเสร็จราวค.ศ. 1308 หรือ[[งานโมเสก]]จากปลายสมัยไบเซ็นไทน์ที่[[โบสถ์คอรา]] (Chora Church) ที่สร้างตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 14 ซึ่งแสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างฉากชีวิตของตะวันออกและตะวันตก - คริสตจักร[[ออร์ทอดอกซ์]]มีวันสมโภชสำหรับฉากชีวิตเจ็ดฉากแรก - แต่อีก 16 ฉากจนก่อนที่จะถึงฉาก[[การเสด็จเยี่ยม]] (Visitation) คล้ายกับฉาก 15 ฉากในสมัยเดียวกันกับที่จอตโต ดี บอนโดเนเขียน เมื่อฉากชุดของคอราเริ่มอีกครั้งก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของภาพจากฉาก “[[ชีวิตของพระเยซู]]” เริ่มด้วยฉากที่พระเยซูมาประสูติ เช่นเดียวกับงานเขียนของจอตโต ดี บอนโดเนและงานของศิลปินตะวันตกอื่นๆอื่น ๆ ฉากชีวิตของจอตโต ดี บอนโดเนเขียนเป็นฉากที่ครบชุดที่มีด้วยกันทั้งหมด 26 ฉาก ฉากคู่ที่มักจะเห็นกันบ่อยและเป็นที่นิยมกันโดยทั่วไปคือฉาก[[แม่พระรับสาร]] และ[[การประสูติของพระเยซู (ศิลปะ)|การประสูติของพระเยซู]] แต่บางครั้งก็จะเป็นฉาก[[พระนางมารีย์ราชินีแห่งสากลโลก]]ที่ใช้แทนฉากสองฉากนี้
 
ฉากชุดในชาเปลทอร์นาบุโอนิมีด้วยกัน 9 ฉากมีฉาก “[[การเสด็จเยี่ยม]]” ที่เป็นส่วนหนึ่งของภาพชุด “ฉากชีวิตของนักบุญ[[จอห์นแบ็พทิสต์]]” “ฉาก[[ชีวิตของพระเยซู]]” มีหลายฉากที่เป็นฉากร่วมกับ “ฉากชีวิตของพระแม่มารี” เช่นที่เห็นใน[[ชาเปลซโครเวยี]] [[อัลเบรชท์ ดือเรอร์]] สร้าง[[ภาพพิมพ์แกะไม้]] 19 ฉากจากชีวิตของพระแม่มารีที่แพร่หลายและมีอิทธิพลต่องานอื่นๆอื่น ๆ<ref>อาจจะระหว่าง [[ค.ศ. 1500]]-[[ค.ศ. 1504]] เคิร์ธ:27</ref>
 
จำนวนฉากชีวิตของพระแม่มารีทั้งหมดมีเป็นจำนวนมากมาจนถึงสมัยกอธิคตอนต้น ลาฟองเตน-โดซอยจ์ผู้เชี่ยวชายทางด้านนี้ลำดับว่าก่อนที่จะถึงฉาก “แม่พระรับสาร” ที่พบในศิลปะตะวันตกก็มีด้วยกัน 53 ฉากเข้าไปแล้ว แต่ก็มีเพียงตัวอย่างเดียวที่หลงเหลือมาจนถึงปัจจุบันนี้จาก[[หนังสือวิจิตร]]จากเยอรมันีจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 ที่ยังเหลืออยู่ครบชุด ในจำนวนนั้น 17 ภาพเป็นภาพก่อน “การประสูติของพระแม่มารี”<ref>คาร์ลิดจ์และเอลเลียตถกเถียงกันเรื่ององค์ประกอบของฉากชุดอย่างลึกซึ้ง พร้อมด้วยตาราง หน้า 29-32 ลำดับ 53 ฉากตาม ลาฟองเตน-โดซอยจ์และจากฉากที่คล้ายคลึงกันในฉากชุดจากตะวันออก</ref> แต่ฉากต่างๆต่าง ๆ เหล่านี้มาจำกัดลงมากในปลาย[[ยุคกลาง]]
 
==ตารางฉาก==
[[ไฟล์:Hans Memling 056.jpg|thumb|600px|center|งานของ[[ฮันส์ เม็มลิง]] ( (Hans Memling) ที่รู้จักกันในชื่อ “[[ความสุขเจ็ดอย่างของพระแม่มารี]]” (Seven Joys of the Virgin) - แต่อันที่จริงแล้วต่อมากลายเป็นชื่อ “ชีวิตของพระแม่มารี” บนแผงเดียว แต่ก็ยังรวมฉากอีก 25 ฉากที่ไม่เกี่ยวกับพระแม่มารี [[ค.ศ. 1480]], [[พิพิธภัณฑ์ศิลปะเดิม]] (Alte Pinakothek), มิวนิก<ref>พิพิธภัณฑ์ศิลปะเดิม, มิวนิก; (แค็ตตาลอกย่อ - ผู้เขียนหลายคน), หร้า 348-351, ฉบับ ค.ศ. 1986, ลิพพ์, ISBN 3874907015</ref>]]
ตารางข้างล่างแสดงให้เห็นว่าฉากใดมีวันสมโภชและฉากที่ปรากฏในงานสำคัญๆสำคัญ ต่างๆๆ ต่าง ๆ ด้วยเครื่องหมาย “X”: จอตโต ดี บอนโดเนใน[[ชาเปลซโครเวยี]] (จอตโต); หนังสือประจำชั่วโมงที่ใช้กันทั่วไป<ref>ฮาร์ธัน, หน้า 28</ref> (ชั่วโมง); [[หนังสือประจำชั่วโมงของแคทเธอรินแห่งคลีฟส์]]<ref>พลัมเมอร์, เพลท 1-15</ref> (แคทเธอริน); ฉากชุดจาก “ชีวิตขอพระแม่มารีของครูแห่ง[[พิพิธภัณฑ์ลูฟร์|ลูฟร์]]”<ref>ช่างเขียนเวนิสจากราว[[ค.ศ. 1480]] [http://www.culture.gouv.fr/public/mistral/joconde_fr?ACTION=CHERCHER&FIELD_2=AUTR&VALUE_2=MAITRE DES SCENES DE LA VIE DE LA VIERGE Joconde database]</ref> (ลูฟร์); ภาพเขียนโดย โดเมนนิโค เกอร์ลันเดาใน[[ชาเปลทอร์นาบุโอนิ]] (โดเมนนิโค); งานภาพพิมพ์ชุดโดย[[อิสราเฮล ฟอน เม็คเค็นเน็ม]] (Israhel van Meckenem) (อิสราเฮล); และอัลเบรชท์ ดือเรอร์ (ดือเรอร์)
 
{| class="wikitable"