ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระคเณศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Good dharma (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มไฟล์ภาพพระพิฆเนศกับการนำมาใช้เป็นตราสัญลักษณ์ของหน่วยงานราชการและสถาบันการศึกษา กรุณา "อย่า" นำออกตามอำเภอใจ
บรรทัด 128:
== ในวัฒนธรรมอื่น ๆ ==
=== ในคติของคนไทย ===
 
<gallery>
ไฟล์:Thailand Fine Arts Dept Seal.svg|<center>สัญลักษณ์กรมศิลปากร</center>
ไฟล์:Silpakorn University Logo.svg|<center>สัญลักษณ์มหาวิทยาลัยศิลปากร</center>
ไฟล์:College of Fine Arts Logo.png|<center>สัญลักษณ์วิทยาลัยช่างศิลป</center>
ไฟล์:Bunditpatanasilpa Institute Logo.png|<center>สัญลักษณ์สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์</center>
</gallery>
 
จากคติความเชื่อที่ว่าพระพิฆเนศเป็นเทพแห่งศิลปวิทยาการ โดยในรัชสมัยของ [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] (รัชกาลที่ 6) ด้วยความเลื่อมใสของพระองค์ที่มีต่อพระพิฆเนศ จนถึงขนาดที่ว่าได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเทวาลัยเพื่อเป็นที่ประดิษฐานของเทวรูปพระพิฆเนศขึ้น ณ [[พระราชวังสนามจันทร์]] จังหวัดนครปฐม และทรงมีพระราชนิพนธ์เรื่องเกี่ยวกับพระพิฆเนศไว้สำหรับการนาฏศิลป์โดยเฉพาะ เมื่อทรงตั้ง [[วรรณคดีสโมสร]] ก็พระราชทานเทวรูปพระพิฆเนศเป็นตราประจำสถาบันนั้น เมื่อ [[กรมศิลปากร]] เกิดขึ้นและรับตราดังกล่าวมาเป็นตราประจำกรม โดยตรากรมศิลปากร ใช้เป็นรูปพระพิฆเนศประทับลวดลายกนกลักษณะคล้ายเมฆ ทรงถือปาศะครอบน้ำวัชระและทันตะอยู่ในวงกลมที่ล้อมรอบด้วยดวงแก้ว 7 ดวง หมายถึงศิลปวิทยา 7 อย่างที่อยู่ในขอบเขตหน้าที่ของกรมศิลปากร และต่อมายังได้ใช้เป็นตราสัญลักษณ์ของ [[มหาวิทยาลัยศิลปากร]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2494/A/053/1296.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี (ฉบับที่ ๒๔) เรื่องกำหนดภาพเครื่องหมายราชการ ตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายราชการ พุทธศักราช ๒๔๘๒], ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๕๓ เล่ม ๖๘ หน้า ๑๒๙๖ ๒๑ สิงหาคม ๒๔๙๔</ref><ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/182/25.PDF ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง ตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๑๘๒ ง หน้า ๒๕ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๙</ref> [[วิทยาลัยช่างศิลป]] และ [[สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์]] <ref>[http://sornsornn.wixsite.com/ganesha/blank-28 ความเชื่อ เรื่อง พระพิฆเนศวรในบริบทของสังคมไทย]</ref><ref>[https://www.posttoday.com/dhamma/586153 ไทยนับถือพระคเณศมากสุดในสุวรรณภูมิ]</ref>