ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 32:
ในระหว่างที่ครองราชย์ก็เป็นที่หวังกันว่าพระองค์จะทรงเสกสมรส แต่แม้ว่ารัฐบาลจะยื่นคำร้องหลายครั้ง และ การทรงทำความรู้จักกับกับคู่หมายหลายคนพระราชินีนาถอลิซาเบธก็มิได้ทรงทำการเสกสมรสกับผู้ใด สาเหตุที่ไม่ทรงยอมเสกสมรสก็ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ เมื่อมีพระชนมายุสูงขึ้นพระองค์ก็ทรงมีชื่อเสียงจากการเป็น ''“'''พระราชินีผู้ทรงพรหมจรรย์'''”'' และเกิด[[ลัทธินิยม]]ของผู้ติดตามนโยบายดังว่าที่เฉลิมฉลองกันด้วยภาพเหมือน, เทศกาล และ วรรณกรรมร่วมสมัย
 
ในด้านการปกครองพระราชินีนาถอลิซาเบธทรงดำเนินนโยบายที่เป็นสายกลางมากกว่าพระราชบิดา พระอนุชา และ พระเชษฐภคินี<ref name=starkey5>Starkey, 5.</ref> คำขวัญที่ทรงถืออยู่คำหนึ่งคือ “[[video et taceo]]” ({{lang-th|ข้าพเจ้ารู้แต่ข้าพเจ้าไม่พูด}}) <ref>Neale, 386.</ref> นโยบายดังกล่าวสร้างความอึดอัดใจให้แก่บรรดาราชองคมนตรี แต่ก็เป็นนโยบายที่ทำให้ทรงรอดจากการสร้างความสัมพันธ์ทางการเมืองและทางการมีคู่ในทางที่ไม่ถูกไม่ควรมาหลายครั้ง แม้ว่าจะทรงดำเนินนโยบายการต่างประเทศอย่างระมัดระวัง และทรงสนับสนุนการสงครามใน[[เนเธอร์แลนด์]], [[ฝรั่งเศส]] และ [[ไอร์แลนด์]]อย่างครึ่งๆครึ่ง กลางๆๆ กลาง ๆ แต่ชัยชนะที่ทรงมีต่อ[[กองเรืออาร์มาดา]]ของสเปนในปี [[พ.ศ. 2131]] ก็ทำให้ทรงมีชื่อว่าทรงมีส่วนเกี่ยวข้องกับชัยชนะอันสำคัญที่ถือกันว่าเป็นชัยชนะอันยิ่งใหญ่ที่สุดใน[[ประวัติศาสตร์อังกฤษ]] ภายใน 20 ปีหลังจากการเสด็จสวรรคต พระองค์ก็ทรงได้ชื่อว่าเป็นพระมหากษัตรีย์ของยุคทองของอังกฤษ
 
รัชสมัยของพระองค์เป็นที่รู้จักกันว่า “[[สมัยเอลิซาเบธ]]” ที่มีชื่อเสียงเหนือสิ่งใดว่าเป็น[[ยุคเรอเนสซองซ์อังกฤษ|ยุคเรอเนสซองซ์]]ของ[[นาฏกรรม]]ของอังกฤษ ที่นำโดยนักเขียนบทละครผู้มีชื่อเสียงเช่น[[วิลเลียม เชคสเปียร์]] และ [[Christopher Marlowe|คริสต์โตเฟอร์ มาร์โลว์]], และความเจริญทางการเดินเรือโดยผู้นำเช่น[[ฟรานซิส เดรค]] นักประวัติศาสตร์บางท่านค่อนข้างจะไม่กระตือรือร้นต่อความยิ่งใหญ่ของพระองค์ และกล่าวว่าทรงเป็นผู้มีอารมณ์หุนหันพลันแล่น<ref>In 1593 during the crisis of [[Henry IV of France|Henry IV's]] conversion, the French ambassador implored [[William Cecil, 1st Baron Burghley|Burghley]] "Protect me by your wisdom from the ire of this great princess; for by the living God, when I see her enraged against any person whatever I wish myself in Calcutta, fearing her anger like death itself."". John Lothrop Motley; History of the United Netherlands, 1590-99.</ref> และบางครั้งก็ทรงเป็นผู้นำผู้ไม่มีความเด็ดขาด,<ref>Somerset, 729.</ref> ผู้ทรงได้รับผลประโยชน์จากโชคมากกว่าที่จะทรงใช้พระปรีชาสามารถ ในปลายรัชสมัยปัญหาต่างๆต่าง ๆ ทางเศรษฐกิจ และ ทางการทหารก็ทำให้บ้านเมืองอ่อนแอลง จนถึงกับกล่าวกันว่าการเสด็จสวรรคตนำมาซึ่งความโล่งใจของไพร่ฟ้าข้าแผ่นดิน
 
พระราชินีนาถอลิซาเบธทรงได้ชื่อว่าเป็นผู้นำผู้มีเสน่ห์และเป็นผู้นำให้ประเทศรอดจากภัยพิบัติต่างๆต่าง ๆ ในยุคที่รัฐบาลอยู่ในสภาวะที่ปั่นป่วนและสถาบันพระมหากษัตริย์ในประเทศเพื่อนบ้านต้องเผชิญกับสถานะการณ์ภายในที่เป็นอันตรายต่อราชบัลลังก์ หลังจากรัชสมัยอันสั้นของพระอนุชาและพระเชษฐภคินีแล้วรัชสมัยอันยาวนานถึง 44 ปีก็เป็นรัชสมัยที่สร้างความมั่นคงให้แก่ราชอาณาจักร และเป็นรัชสมัยที่วางรากฐานของความเป็นชาติของอังกฤษด้วย<ref name=starkey5>Starkey, 5.</ref>
 
เมื่อเทียบกับช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ไทย สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 ทรงครองราชย์ในเวลาเดียวกันกับระหว่างรัชสมัยของ[[สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ]]และ[[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]]ใน[[สมัยกรุงศรีอยุธยา]]
บรรทัด 46:
เมื่อพระนางเจน ซีมัวร์เสียชีวิตหลังจากที่ได้ให้กำเนิดแก่เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด พี่น้องต่างมารดาทั้งสามก็ถูกนำมาเลี้ยงดูร่วมกัน แต่เพราะแมรี่นั้นอายุห่างจากน้องทั้งสองมาก อีกทั้งยังต่างศาสนา เอลิซาเบทจึงใกล้ชิดกับเอ็ดเวิร์ดมากกว่า ทั้งสองทรงได้รับการศึกษาอย่างดีเลิศเช่นการทรงพระอักษรภาษาลาติน, กรีก, สเปน และฝรั่งเศส รวมทั้งประวัติศาสตร์, ปรัชญา และคณิตศาสตร์
 
ชีวิตยามเยาว์วัยของเอลิซาเบทได้สัมผัสกับความสุขบ้าง เมื่อเฮนรี่สมรสกับแคทเธอรีน ฮาวเวิร์ด ซึ่งเป็นพระญาติกับพระราชินีแอน บุลิน แคทเธอรีนดูแลให้ความรักแก่เจ้าหญิงองค์น้อยนี้เป็นอย่างดี ทั้งยังได้ยกย่องพระองค์ให้สมกับตำแหน่งเจ้าหญิง แต่ความสุขความอบอุ่นก็มาเพียงชั่วระยะเวลาสั้นๆสั้น ๆ และจบลงเมื่อแคทเธอรีนต้องโทษประหารชีวิตอีกคน เอลิซาเบทตกอยู่ในสภาพที่สับสนทางจิตใจมาก เมื่อเห็นผู้หญิงที่เธอรักสองคนต้องตายตกตามกันไปเพราะผู้ชายคนเดียวกัน ถึงขนาดที่เธอเอ่ยปากกล่าวกับโรเบิร์ต ดัดเลย์ เพื่อนเล่นเมื่อครั้งยังพระเยาว์จนเติบโตมาเป็นเพื่อนใจในยามหนุ่มสาวว่า ในชีวิตนี้พระองค์จะไม่อภิเษกกับใครทั้งสิ้น
 
แม้ว่าราชินีองค์ที่หกแห่งพระเจ้าเฮนรี่ที่แปด - แคทเธอรีน พารร์ จะพยายามสร้างบรรยากาศให้เป็นเสมือนครอบครัวที่อบอุ่นเพียงใด แต่ในความสงบนั้น เอลิซาเบทไม่ได้มีความสุขสักเท่าใด ในขณะที่แคทเธอรีนพยายามจะเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างพ่อลูกให้ดีขึ้น เอลิซาเบทก็พยายามตัดรอนตอบโต้พระบิดาถึงขนาดว่าพระองค์ถูกสั่งให้ออกไปพ้นเขตวัง แคทเธอรีน ต้องเป็นผู้ไกล่เกลี่ยเป็นกาวใจให้สองพ่อลูกและขออนุญาตให้เอลิซาเบทได้กลับเข้ามาอยู่ในวังตามเดิม ความสัมพันธ์ของเฮนรี่และเอลิซาเบทเป็นดังราวคนแปลกหน้าสองคนมากกว่าที่จะเป็นพ่อลูกจวบจนพระเจ้าเฮนรี่ที่แปดได้สิ้นพระชนม์ในวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1547 ในขณะที่เอลิซาเบทมีพระชนมายุสิบสามชันษา และเอ็ดเวิร์ดได้กลายเป็นกษัตริย์แห่งอังกฤษเมื่ออายุได้สิบปี
บรรทัด 55:
[[ไฟล์:Elizabeth_I_in_coronation_robes.jpg|thumb|222px|right|สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ ในชื่อภาพว่า “พิธีราชาภิเษกของอลิซาเบธ” (The Coronation of Elizabeth)]]
 
การขึ้นเสวยราชย์ของพระองค์เมื่อ พ.ศ. 2101 อันเนื่องมาจากการสวรรคตของ[[สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษ|พระราชินีแมรีที่ 1]] ได้รับการแซ่ซ้องและยอมรับเป็นอย่างมากจากผู้คนที่หวังจะได้มีเสรีภาพทางศาสนามากขึ้นหลังจากที่ได้ถูกกดขี่มาโดยตลอดในรัชกาลก่อนๆก่อน ๆ ภายใต้การนำอย่างแข็งขันของ[[William Cecil, 1st Baron Burghley|วิลเลียม เซซิล บารอนแห่งเบอร์ลีย์ที่ 1]] ซึ่งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีต่างประเทศ (ต่อมาเลื่อนเป็นลอร์ดเบอร์ลีย์) กฎหมายสนับสนุนคาทอลิกของพระนางแมรีที่ 1 ได้ถูกยกเลิกและ[[นิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์]] ก็ได้รับการสถาปนาขึ้น (ระหว่าง พ.ศ. 2102-2106) นอกจากนี้เซซิลยังได้ให้การสนับสนุนการปฏิรูปสกอตแลนด์ ซึ่งทำให้พระราชินีแมรีแห่งสกอตแลนด์กลับคืนบัลลังก์ได้อีกในปี พ.ศ. 2104 ยังผลให้เกิดความขัดแย้งกันขึ้นกับพวก[[ลัทธิคาลวิน]] โดย[[จอห์น นอกซ์]] หนึ่งในผู้ก่อตั้งนิกายโปรแตสแตนท์ ซึ่งได้จับพระนางจองจำและบังคับให้สละราชบัลลังก์ในปี พ.ศ. 2110 ทำให้พระองค์ต้องหลบหนีไปประทับในอังกฤษแต่ก็ถูกจับกักบริเวณอีก ซึ่งต่อมาเหตุการณ์นี้ได้กลายเป็นจุดสนใจและเป็นศูนย์รวมชาวคาทอลิกที่รวมตัวกันต่อต้านนิกายโปรแตสแตนท์ ในปี พ.ศ. 2113 ได้มีการประกาศให้พวกคาทอลิกเลิกนับถือสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธเป็นราชินี ซึ่งรัฐบาลเริ่มแก้เผ็ดชาวคาทอลิกอังกฤษด้วยการจำกัดสิทธิบางอย่างและค่อยๆค่อย ๆ เพิ่มความเข้มข้นขึ้นถึงขั้นปราบปรามในช่วงปี พ.ศ. 2123-พ.ศ. 2133
 
แผนการล้มล้างสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 ถูกเปิดเผยบ่อยครั้งขึ้น และอีกครั้งหนึ่งโดยการสนับสนุนอย่างลับๆลับ ๆ ของพระนางแมรีใน พ.ศ. 2129 ที่เป็นผลให้พระนางทรงถูกประหารชีวิตในปีต่อมา นโยบายต่อต้านและเข้มงวดต่อผู้ถือนิกายโรมันคาทอลิกเพิ่มความรุนแรงขึ้น มีผลให้อังกฤษสนับสนุนฝ่ายกบฏชาว[[ฮอลันดา]]ที่ต่อต้าน[[สเปน]] มีการ “แต่งตั้งโจรสลัด” อย่างเป็นงานเป็นการ ดังเช่น[[จอห์น ฮอว์ลีน]] และ [[ฟรานซิส เดรก]]เพื่อคอยดักปล้นทรัพย์สินของพวกสเปนในโลกใหม่ ปรากฏการณ์เหล่านี้ยั่วยุให้สเปนก่อสงครามรุกรานอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2101 [[กองเรืออาร์มาดา]]อันยิ่งใหญ่ของ[[สเปน]]ได้บุกเข้ามาปิด[[ช่องแคบอังกฤษ]] แต่ก็ถูกทำลายจากทั้งพายุที่มีชื่อว่า ลมโปรแตสแตนท์และการตีโต้กลับจากฝ่ายอังกฤษจนสูญเสียเรือเป็นจำนวนมากพ่ายแพ้อย่างบอบช้ำจนต้องถอยกลับสเปน
 
ตลอดรัชสมัยของสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 พระองค์ได้เพิ่มพันธมิตรและเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้แก่นิกาย[[โปรเตสแตนต์]]มากขึ้น และในขณะเดียวกันก็แบ่งแยกศัตรูฝ่ายคาทอลิกรุนแรงมากขึ้นด้วย พระนางแสร้งยอมให้เชื้อพระวงศ์ต่างประเทศหลายรายเจรจาขออภิเษกสมรสกับพระองค์ แต่พระองค์ก็มิได้จริงจังและมิได้ทรงกำหนดให้มีการสืบรัชทายาทไว้แต่อย่างใด และด้วยการสิ้นพระชนม์ของพระราชินีแมรีแห่งสกอตแลนด์ ทำให้พระนางได้ทรงทราบด้วยความพอพระทัยว่าองค์รัชทายาท คือพระเจ้าเจมส์ที่ 1 เป็นโปรแตสแตนท์ พระองค์ได้มีสัมพันธ์ลึกซึ้งกับขุนนางสำคัญคือ โรเบิร์ต ดัดเลย์ เอิร์ลแห่งลีเซสเตอร์ และต่อมากับโรเบิร์ต เดอเวโรซ์ เอิร์ลแห่งเอสเซกซ์ จนกระทั่งเดอเวโรซ์ถูกประหารชีวิตด้วยข้อหากบฏในปี [[พ.ศ. 2144]]
 
ยุคสมัยของพระราชินีอลิซาเบธ ได้รับการเรียกว่า “[[สมัยเอลิซาเบธ]]” หรือยุคทอง เนื่องจากเป็นยุคที่อังกฤษขยายแสนยานุภาพไปทั่วโลก ในยุคสมัยนี้ ได้มีชาวอังกฤษผู้โด่งดังในสาขาวิชาต่างๆต่าง ๆ มากมาย เช่น กวีชื่อก้องโลก [[วิลเลียม เชกสเปียร์]] [[คริสโตเฟอร์ มาโลว์]] และ [[จอห์น เบ็นสัน]] ก็ได้มีเริ่มมีชื่อเสียงในยุคนี้ [[ฟรานซิส เดรก]] ได้เป็นชาวอังกฤษคนแรกที่เป็นนักเดินเรือสำรวจรอบโลก [[ฟรานซิส เบคอน]] ได้เสนอความคิดทางปรัญชาและทางการเมือง [[เซอร์ วอลเตอร์ ราเลย์]] และ [[เซอร์ ฮัมเฟรย์ กิลเบิร์ต]] ได้สร้างอาณานิคมของอังกฤษใน[[ทวีปอเมริกาเหนือ]]
 
[[ไฟล์:Elizabeth I (Armada Portrait).jpg|left|thumb|350px|ภาพเขียนสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 เมื่อพ.ศ. 2131 เนื่องในวาระพิชิตกองเรีออามาดาของ[[สเปน]] โปรดสังเกตพระหัตถ์ขวาที่กุม[[ลูกโลกประดับกางเขน]]ซึ่งเป็นสัญญลักณ์แห่งอำนาจของอังกฤษในระดับโลก]]