ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 8494661 สร้างโดย 124.122.27.30 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{ความหมายอื่น|สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม|พระศรีศิลป์พระองค์อื่น|พระศรีศิลป์}}
{{infobox royalty
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| succession = พระเจ้ากรุงศรีอยุธยา
| ภาพ =
| พระบรมนามาภิไธยbirth_name = พระศรีสิน
| พระอิสริยยศ = [[พระมหากษัตริย์]]แห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]]
| birth_style = {{Nowrap|พระราชสมภพ}}
| พระบรมนามาภิไธย = พระศรีสิน
| birth_date = พ.ศ. 2135
| พระปรมาภิไธย =
| วันสวรรคตdeath_date = 12 ธันวาคม พ.ศ. 2171 (36 พรรษา)
| วันพระราชสมภพ = พ.ศ. 2135
| father = [[สมเด็จพระเอกาทศรถ]]
| วันสวรรคต = 12 ธันวาคม พ.ศ. 2171 (36 พรรษา)
| พระราชมารดาmother = พระสนมไม่ปรากฏพระนาม
| พระราชบิดา = [[สมเด็จพระเอกาทศรถ]]<ref>[http://www.yudya.com/king/king/21.html พระเจ้าทรงธรรม]{{dead link|date=August 2018}}</ref>
| issue = [[สมเด็จพระเชษฐาธิราช]]<br>[[พระพันปีศรีสิน]]<br>[[สมเด็จพระอาทิตยวงศ์]]
| พระราชมารดา = พระสนมไม่ปรากฏพระนาม
| ราชวงศ์dynasty = [[ราชวงศ์สุโขทัย]]
| พระมเหสี =
| reign = 2154–2171 (17 ปี)
| พระราชสวามี =
| พระราชโอรส/ธิดาpredecessor = [[สมเด็จพระเชษฐาธิราช]]<br>[[พระพันปีศรีศิลป์]]<br>[[พระอาทิตยวงศ์เสาวภาคย์]]
| รัชกาลถัดมาsuccessor = [[สมเด็จพระเชษฐาธิราช]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์สุโขทัย]]
| ทรงราชย์ = 2154–2171
| พิธีบรมราชาภิเษก =
| ระยะเวลาครองราชย์ = 17 ปี
| รัชกาลก่อนหน้า = [[พระศรีเสาวภาคย์]]
| รัชกาลถัดมา = [[สมเด็จพระเชษฐาธิราช]]
}}
 
'''สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม''' หรือ '''สมเด็จพระบรมราชาที่ 1''' หรือ '''สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงธรรม''' หรือ '''สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวทรงธรรมอันมหาประเสริฐ'''<ref name="เจิม">{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = | ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น | จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา
| ปี = 2553| ISBN = 978-616-7146-08-9| จำนวนหน้า = 800| หน้า = 261-4}}</ref> เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 21 แห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]] และเป็นพระองค์ที่ 5 แห่ง[[ราชวงศ์สุโขทัย]]
 
หลังจากทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้สำเร็จโทษพระมหากษัตริย์องค์ก่อนแล้ว พระศรีศิลป์หรือพระพิมลธรรม หรือพระเจ้าทรงธรรมก็เสด็จปราบดาภิเษกขึ้นครองราชสมบัติ
 
== พระราชประวัติ ==
สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมมีพระนามเดิมว่า'''พระอินทราชา''' (แต่[[พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)]] ระบุว่าสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมมีพระนามเดิมคือว่า'''พระศรีสิน''')<ref name="เจิม"/> เป็นพระราชโอรสใน[[สมเด็จพระเอกาทศรถ]]กับพระสนมชาวบางปะอิน<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา| ชื่อหนังสือ = นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย| URL = httphttps://www.sactmd.orgo.th/main/pdf/Thai_king_directories.pdf| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา
| ปี = 2554| ISBN = 978-616-7308-25-8| จำนวนหน้า = 264| หน้า = 132-5}}{{dead link|date=August 2018}}</ref> มีพระนามเดิมว่า พระศรีศิลป์ เดิมบวชเป็น[[พระภิกษุ]]อยู่ที่วัดระฆัง มีความรอบรู้ทางด้านพระไตรปิฎกมาก จนได้รับการเลื่อน[[สมณศักดิ์]]เป็น''[[พระพิมลธรรม]]อนันตปรีชา์อนันตปรีชา'' มีผู้ที่นิยมท่านมาก รวมทั้ง[[จหมื่นศรีสรรักษ์ (วังหน้า)|จหมื่นมื่นศรีสรเสารักษ์]]ยังได้ฝากตัวเป็นบุตรบุญธรรมของท่านด้วย
 
ในแผ่นดินของ[[สมเด็จพระศรีเสาวภาคย์]] จหมื่นมื่นศรีสรเสารักษ์และบรรดาลูกศิษย์ของท่านได้ซ่องสุมกันที่[[วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ]] แล้วจึงบุกเข้าไปยังพระราชวังหลวงและจับสมเด็จพระศรีเสาวภาคย์นำไป[[สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์]] แล้วอัญเชิญพระพิมลธรรมอนันตปรีชาให้ลาสิกขาบท ขึ้นเสวยราชสมบัติแห่งกรุงศรีอยุธยา เมื่อปีขาล จุลศักราช 973 (พ.ศ. 2154) ทรงพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม และทรงแต่งตั้งจหมื่นมื่นศรีสรเสารักษ์เป็น[[พระมหาอุปราช]]
 
สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมมีพระราชโอรส 3 พระองค์ ได้แก่ [[สมเด็จพระเชษฐาธิราช|พระเชษฐาธิราชกุมาร]] [[พระพันปีศรีศิลป์สิน]] และ[[สมเด็จพระอาทิตยวงศ์|พระอาทิตยวงศ์]] ส่วน[[จดหมายเหตุวันวลิต]]ระบุว่า พระองค์มีพระราชโอรส 9 พระองค์ พระราชธิดา 8 พระองค์
 
ตอนปลายรัชสมัยของพระองค์ ขณะที่พระองค์ประชวรหนัก มีพระราชประสงค์จะมอบราชสมบัติให้พระราชโอรสองค์ใหญ่ คือ พระเชษฐาธิราชกุมาร โดยทรงมอบให้[[สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง|ออกญาศรีวรวงศ์]] จางวางมหาดเล็ก ซึ่งเป็นพระญาติที่ไว้วางพระทัยเป็นผู้ดูแลพระเชษฐาธิราชจนกว่าจะได้ครองราชย์ สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมครองราย์ได้ 17 ปี จึงเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2171 ซึ่งเป็นวันที่ชาว[[ฮอลันดา]]ได้บันทึกไว้
เส้น 41 ⟶ 34:
 
=== ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ===
พระองค์ทรงมีสัมพันธ์ไมตรีกับบรรดาต่างประเทศที่เข้ามาติดต่อค้าขายกับไทย ทำให้กรุงศรีอยุธยาเป็นเมืองท่าที่สำคัญในภูมิภาคแถบนี้ของโลก ชาวต่างประเทศ โดยเฉพาะฮอลันดา อังกฤษและญี่ปุ่น ที่เข้ามาติดต่อค้าขายกับไทยตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระเอกาทศรถ พระองค์ก็ได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานที่ดินบริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก ริมคลองปลากด เหนือ[[เมืองสมุทรปราการ]] ให้ชาวฮอลันดาตั้งคลังสินค้า และส่วนชาวญี่ปุ่น ปรากฏว่ามีชาวญี่ปุ่นสมัครเข้ารับราชการที่กรุงศรีอยุธยาเป็นจำนวนมาก จนได้มีการจัดตั้งกรมอาสาญี่ปุ่น ขึ้นมาช่วยราชการกรุงศรีอยุธยา ชาวญี่ปุ่นที่มีบทบาทสำคัญในวงการเมืองในรัชสมัยของพระองค์ คือ [[ยะมะยามาดะ นะงะมะซะนางามาซะ]] ซึ่งต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น''ออกญาเสนาภิมุข''
 
=== ด้านราชการสงคราม ===
เนื่องจากพระองค์ไม่นิยมการทำสงคราม ด้วยเหตุนี้กรุงศรีอยุธยาจึงต้องเสีย[[ทวาย|เมืองทวาย]] อันเป็นเมืองท่าที่สำคัญทางตะวันตกใน[[ทะเลอันดามัน]] [[พม่า]]ยกกำลังมาตีเมืองทวายได้เมื่อปี พ.ศ. 2165 ต่อมา [[กัมพูชา]]และ[[แคว้นเชียงใหม่]]ซึ่งเคยเป็น[[ประเทศราช]]มาตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรต่างก็พากันแข็งเมืองไม่ยอมขึ้นกับกรุงศรีอยุธยา
 
== พระราชบุตร ==
เส้น 88 ⟶ 81:
|สี3 = #E9E9E9
|รูปภาพ = Seal of Ayutthaya (King Narai).png
|ตำแหน่ง = พระเจ้ากรุงศรีอยุธยา<br>([[ราชวงศ์สุโขทัย]])
|ช่วงเวลา = พ.ศ. 2154 - 2171
|ก่อนหน้า = [[สมเด็จพระศรีเสาวภาคย์]]<br>([[ราชวงศ์สุโขทัย]])
|วาระก่อนหน้า = (พ.ศ. 2153)
|ถัดไป = [[สมเด็จพระเชษฐาธิราช]]<br/>([[ราชวงศ์สุโขทัย]])
|วาระถัดไป = ( พ.ศ. 2171 - พ.ศ. 2173)
}}