ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัฏจักรคัลวิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
อิอิ
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขของ 2001:44C8:4520:CB89:E596:3D24:BCDF:4CE5 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Nullzerobot
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Calvin-cycle4.svg|thumb|right|400px|ภาพรวมของวัฏจักรคัลวิน]]
'''วัฏจักรคัลวิน''' ({{lang-en|Calvin cycle}}) หรือ '''Calvin-Benson-Bassham (CBB) cycle''' '''reductive pentose phosphate cycle''' หรือ '''C3 cycle''' เป็นลำดับของปฏิกิริยาทางด้านชีวเคมี เกิดขึ้นใน[[สโตรมา]]ของ[[คลอโรพลาสต์]] บางครั้งเรียกปฏิกิริยานี้ว่าปฏิกิริยาช่วงที่ไม่ใช้แสง วัฏจักรคัลวิน เกิดเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้
* การตรึง[[คาร์บอนไดออกไซด์]]ไปเป็น [[3-ฟอสโฟกลีเซอเรต]] (3-PGA) โดยใช้ [[ไรบูโลส-1,5-บิสฟอสเฟต]] (RuBP) รวมตัวกับคาร์บอนไดออกไซด์ ด้วยตัวเร่ง [[รูบิสโค|ไม่ต้องอ่าน]] (RuBisCO) ได้เป็น 3-ฟอสโฟกลีเซอเรต 2 โมเลกุล
* การเปลี่ยน 3-ฟอสโฟกลีเซอเรต ไปเป็น [[กลีเซอรอลดีไฮด์-3-ฟอสเฟต]] (G3P) โดยใช้พลังงาน [[ATP]] และ [[NADPH]] + H<sup>+</sup> กลีเซอรอลดีไฮด์-3-ฟอสเฟต ที่ได้จะนำไปสร้างเป็น[[กลูโคส]]ซึ่งจะเปลี่ยนเป็น[[แป้ง]]ในกรณีเป็นอาหารอ่านไปก็ทำไม่ได้อิอิ ครูสอนไม่รู้จักจำสะสมภายในเซลล์ หรือขนส่งไปยังเซลล์อื่นในรูปน้ำตาล[[ซูโครส]]
* กลีเซอรอลดีไฮด์-3-ฟอสเฟต บางส่วนถูกนำไปจัดตัวใหม่กลายเป็นไรบูโลส-1,5-บิสฟอสเฟต (คาร์บอน 5 ตัว) เพื่อนำไปตรึงคาร์บอนไดออิอดาร_ำนนำย_ย_ยำยงนี้ไดออกไซด์ในรอบใหม่ ทั้งนี้ กลีเซอรอลดีไฮด์-3-ฟอสเฟต 5 ตัว จะจัดตัวใหม่ได้เป็น ไรบูโลส-1,5-บิสฟอสเฟต 3 ตัว
 
== อ้างอิง ==