ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 171.103.30.38 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Phat2000
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22:
ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 ได้เกิดการสู้รบกันระหว่างพระองค์กับพระราชโอรสของพระะเจ้าท้ายสระคือ[[เจ้าฟ้าอภัย]]และ[[เจ้าฟ้าปรเมศร์]] อันเนื่องมาจากพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศในขณะนั้นทรงดำรงพระอิสริยยศที่[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]] มีสิทธิที่จะขึ้นครองราชสมบัติสืบต่อพระเชษฐาอย่างถูกต้อง แต่เมื่อพระเชษฐาใกล้สวรรคตกลับตัดสินพระทัยยกราชสมบัติให้แก่เจ้าฟ้านเรนทร พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ แต่เจ้าฟ้านเรนทรไม่รับสืบราชสมบัติเพราะเห็นว่ามีกรมพระราชวังบวรฯ ซึ่งสมควรได้สืบราชสมบัติมากกว่า พระเจ้าท้ายสระจึงยกราชสมบัติให้แก่เจ้าฟ้าอภัย (พระราชโอรสองค์รอง) เป็นเหตุให้เกิดการต่อสู้แย่งชิงราชบัลลังก์จนกลายเป็นสงครามกลางเมือง กินระยะเวลาไม่ต่ำกว่า 1 ปี
 
"'''[[คำให้การชาวกรุงเก่า'''"]] ระบุว่าภายหลังเหตุการณ์สงบแล้ว กรมพระราชวังบวรสถานมงคลจึงได้ขึ้นครองราชย์เฉลิมพระนามว่า'''พระมหาธรรมราชา'''<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 550</ref> (แต่ในบัญชีพระนามเจ้านายว่า'''พระเจ้าบรมราชา'''<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 623</ref>) และสำเร็จโทษเจ้าฟ้าอภัย และ เจ้าฟ้าปรเมศร์
 
== พระมหากษัตริย์ ==
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศได้ทรงทำนุบำรุงบ้านเมืองและพระศาสนาจนกล่าวได้ว่ากรุงศรีอยุธยาในสมัยพระองค์นั้นเป็นยุคที่บ้านเมืองดี มีขุนนางคนสำคัญที่เติบโตในเวลาต่อมา ในรัชกาลของพระองค์หลายคน เช่น [[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] เป็นต้น ในทางด้านวรรณคดี ก็มีกวีคนสำคัญ เช่น [[เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์]] กรมขุนเสนาพิทักษ์ (หรือเจ้าฟ้ากุ้ง) ซึ่งเป็นพระราชโอรส เป็นต้น
 
ในปี พ.ศ. 2296 พระเจ้ากีรติสิริราชสิงห์ กษัตริย์[[ลังกา]] ได้ส่งราชทูตมาขอพระมหาเถระ และคณะสงฆ์ไปช่วยฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในลังกา ซึ่งเสื่อมโทรมลงไป สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ จึงโปรดให้ส่งคณะสมณทูตประกอบด้วยพระราชาคณะสองรูปคือ [[พระอุบาลีเถระ]]และ[[พระอริยมุนี]] พร้อมคณะสงฆ์อีก 12 รูป ไปลังกา เพื่อประกอบพิธีบรรพชา อุปสมบท ให้กับชาวลังกา คณะสงฆ์คณะนี้ได้ไปตั้ง[[สยามนิกาย]]ขึ้นในลังกา หลังจากที่ได้ช่วยฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในลังกา เป็นเวลาเจ็ดปีแล้ว คณะสงฆ์คณะนี้บางส่วนได้เดินทางกลับกรุงศรีอยุธยา เมื่อปี [[พ.ศ. 2303]]
 
== พระมเหสีและพระราชโอรสธิดา ==
เส้น 124 ⟶ 129:
# พระองค์เจ้าอินทร์
{{col-end}}
 
==พระราชกรณียกิจ==
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศได้ทรงทำนุบำรุงบ้านเมืองและพระศาสนาจนกล่าวได้ว่ากรุงศรีอยุธยาในสมัยพระองค์นั้นเป็นยุคที่บ้านเมืองดี มีขุนนางคนสำคัญที่เติบโตในเวลาต่อมา ในรัชกาลของพระองค์หลายคน เช่น [[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] เป็นต้น ในทางด้านวรรณคดี ก็มีกวีคนสำคัญ เช่น [[เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์]] กรมขุนเสนาพิทักษ์ (หรือเจ้าฟ้ากุ้ง) ซึ่งเป็นพระราชโอรส เป็นต้น
 
ในปี พ.ศ. 2296 พระเจ้ากีรติสิริราชสิงห์ กษัตริย์[[ลังกา]] ได้ส่งราชทูตมาขอพระมหาเถระ และคณะสงฆ์ไปช่วยฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในลังกา ซึ่งเสื่อมโทรมลงไป สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ จึงโปรดให้ส่งคณะสมณทูตประกอบด้วยพระราชาคณะสองรูปคือ [[พระอุบาลีเถระ]]และ[[พระอริยมุนี]] พร้อมคณะสงฆ์อีก 12 รูป ไปลังกา เพื่อประกอบพิธีบรรพชา อุปสมบท ให้กับชาวลังกา คณะสงฆ์คณะนี้ได้ไปตั้ง[[สยามนิกาย]]ขึ้นในลังกา หลังจากที่ได้ช่วยฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในลังกา เป็นเวลาเจ็ดปีแล้ว คณะสงฆ์คณะนี้บางส่วนได้เดินทางกลับกรุงศรีอยุธยา เมื่อปี [[พ.ศ. 2303]]
 
==เหตุพระนาม"บรมโกศ"==
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชวินิจฉัยในพระราชพิธีสิบสองเดือนว่า เป็นเพราะเมื่อสมเด็จพระเจ้าบรมโกศสวรรคต กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ได้เสด็จขึ้นครองราชย์เป็น สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร ก็เรียกขุนหลวงบรมโกศ จนผลัดแผ่นดินมาพระเจ้าเอกทัศ ก็ไม่มีการเปลี่ยนแปลง จนมาสมัยธนบุรี และรัตนโกสินทร์ จึงเรียกติดปากไป คิดว่าเป็นชื่อจริงๆ
 
== พงศาวลี ==