ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิข้อยกเว้นไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
 
; ลัทธิแยกอยู่โดดเดี่ยว :
นักวิจารณ์ญัตติลัทธิข้อยกเว้นไทยอ้างความโอหังชาตินิยมว่าเป็นอุปสรรคต่อบูรณาการอาเซียน ตลอดจนเป็นอุปสรรคต่อความมั่งคั่งและเสถียรภาพโดยการทำให้โครงสร้างทางสังคมของไทยที่ไม่เท่าเทียมว่าชอบด้วยเหตุผล<ref>{{cite news|last1=Stent|first1=Jim|title=Deja vu in Thailand, but what comes next?|url=http://asia.nikkei.com/print/article/32372|accessdate=21 January 2017|work=Nikkei Asian Review|date=2014-05-23}}</ref> ในปี 2561 รัฐบาลไทยสร้างการรณรงค์ "อำนาจอ่อน" ชื่อ ไทยนิยม เพื่อส่งเสริมญัตติลัทธิข้อยกเว้นไทย นักวิชาการไทยบางส่วนเรีกว่าเป็นเรียกว่าเป็น "แค่โฆษณาชวนเชื่อของรัฐ"<ref name="Nation-20180527">{{cite news|last1=Phataranawik|first1=Phatarawadee|title=SPECIAL REPORT: How the junta misused culture to boost 'Thai-ism'|url=http://www.nationmultimedia.com/detail/national/30346263|accessdate=28 May 2018|work=The Nation|date=27 May 2018}}</ref>
 
ในบางโอกาส ผู้ถือลัทธิข้อยกเว้นไทยใช้เพื่ออ้างเหตุผลขัดขวางเจ้าหน้าที่ต่างประเทศ ตัวอย่างเช่น [[ดอน ปรมัตถ์วินัย]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ เจตนาขัดขวางผู้สังเกตการณ์การเลือกตั้งชาวต่างชาติ โดยอ้างว่า "คนไทยภูมิใจที่จัดการเลือกตั้งโดยปลอดอิทธิพลต่างประเทศ"<ref>{{cite news|last1=Manager Online|first=(Thai)|title=Don blocked foriegn election observers because Thai is prestigious|url=https://mgronline.com/politics/detail/9610000124278|accessdate=15 December 2018|work=Manager Online|date=15 December 2018}}</ref>