ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 67:
พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรุงเทพ.</ref>
 
ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2466 ทั้ง 2 พระองค์ได้เสด็จกลับเมืองไทยพร้อมด้วยพระราชธิดา เนื่องจาก[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สมเด็จพระบรมราชชนกทรงดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2466/D/2205_1.PDF แจ้งความกระทรวงศึกษาธิการ แผนกศึกษาธิการ ตั้งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย], เล่ม ๔๐, ตอน ๐ ง, ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๖๖, หน้า ๒๒๐๕</ref> ประทับอยู่ได้ประมาณ 20 เดือน ก็ประชวร แพทย์จึงถวายคำแนะนำให้ประทับในที่อากาศเย็น ที่[[ไฮเดิลแบร์ค|เมืองไฮเดลแบร์ก]] [[สาธารณรัฐไวมาร์]] (ปัจจุบันคือ[[ประเทศเยอรมนี]]) สมเด็จพระบรมราชชนนีและพระราชธิดาจึงได้ตามเสด็จไปประทับด้วย<ref>{{อ้างหนังสือ||ผู้แต่ง=วิกัลย์ พงศ์พนิตานนท์||ชื่อหนังสือ=เทิดพระนาม มหิดล||URL=||จังหวัด=กรุงเทพ||พิมพ์ที่=มหาวิทยาลัยมหิดล||ปี= พ.ศ. 2552||ISBN=||หน้า=หน้าที่ 20||จำนวนหน้า=332}}</ref> สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีได้ประสูติพระราชโอรสพระองค์แรก เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2468 [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]พระราชทานพระนามว่า [[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล|หม่อมเจ้าอานันทมหิดล มหิดล]] ในวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เสด็จสวรรคต สมเด็จพระบรมราชชนกเสด็จกลับกรุงเทพฯ เพียงพระองค์เดียวเพื่อถวายพระเพลิงพระบรมศพ และประทับอยู่จนถึงงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ในปี พ.ศ. 2469<ref>{{อ้างหนังสือ||ผู้แต่ง=วิกัลย์ พงศ์พนิตานนท์||ชื่อหนังสือ=เทิดพระนาม มหิดล||URL=||จังหวัด=กรุงเทพ||พิมพ์ที่=มหาวิทยาลัยมหิดล||ปี= พ.ศ. 2552||ISBN=||หน้า=หน้าที่ 24||จำนวนหน้า=332}}</ref>
 
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีได้ประสูติพระราชโอรสพระองค์แรก เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2468 [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]พระราชทานพระนามว่า [[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล|หม่อมเจ้าอานันทมหิดล มหิดล]]
 
ในวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เสด็จสวรรคต สมเด็จพระบรมราชชนกเสด็จกลับกรุงเทพฯ เพียงพระองค์เดียวเพื่อถวายพระเพลิงพระบรมศพ และประทับอยู่จนถึงงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ในปี พ.ศ. 2469
 
เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีประสูติพระราชโอรสพระองค์ที่ 2 ณ โรงพยาบาลเมาท์ออเบิร์น [[เคมบริดจ์ (แมสซาชูเซตส์)|เมืองเคมบริดจ์]] [[สหรัฐอเมริกา]] ได้รับพระราชทานพระนามจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลยเดช]]
 
[[ไฟล์:Mom Sangwal and children.JPG|thumb|275px|left|สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และพระราชโอรส พระราชธิดา]]
เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีประสูติพระราชโอรสพระองค์ที่ 2 ณ โรงพยาบาลเมาท์ออเบิร์น [[เคมบริดจ์ (แมสซาชูเซตส์)|เมืองเคมบริดจ์]] [[สหรัฐอเมริกา]] ได้รับพระราชทานพระนามจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลยเดช]] ระหว่างนี้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงดูแลพระโอรสธิดาอย่างใกล้ชิดด้วยความรักและการอบรมสั่งสอน และทรงทูลเรื่องนี้กับสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ความตอนหนึ่งว่า ''"ลูกของหม่อมฉัน หม่อมฉันรักดั่งดวงใจ...ถ้าได้ช่วยลูก ๆ ให้ได้รับการอบรมและเล่าเรียนในสิ่งที่จะเป็นประโยชน์แก่บ้านเมืองได้แล้ว หม่อมฉันก็จะรู้สึกอิ่มใจเหมือนกัน"''<ref>ธงทอง จันทรางศุ. ''ในกำแพงแก้ว.'' กรุงเทพฯ : เอส.ซี.พริ้นท์แอนด์แพค, พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2550, หน้า 153</ref>
 
ขณะที่สมเด็จพระบรมราชชนกทรงศึกษาวิชาแพทย์ปีสุดท้ายอยู่ที่เมืองบอสตัน ประชวรโรคพระวักกะกำเริบ และพระโรคหวัด<ref>[http://www.phcsuphan.ac.th/main/index.php?option=com_content&view=article&id=55&Itemid=76 พระราชประวัติสมเด็จพระบรมราชชนก] จากเว็บไซต์[[วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร]] [[จังหวัดสุพรรณบุรี]]</ref> แต่ก็ยังทรงสามารถสอบได้ปริญญา[[แพทยศาสตร์]]ขั้นเกียรตินิยม แต่หลังจากสอบเสร็จ และประชวรพระโรคไส้ติ่งอักเสบ ทั้งสองพระองค์ได้พาพระราชโอรสธิดาเดินทางกลับ[[ประเทศไทย]] โดยประทับที่พระตำหนักใหม่สร้างขึ้นใน[[วังสระปทุม]] [[ถนนพญาไท]]
 
เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกทรงรับเชิญเป็นแพทย์ประจำบ้านจากโรงพยาบาลแมคคอร์มิก [[จังหวัดเชียงใหม่]] ในเดือนต่อมาก็เสด็จกลับ[[กรุงเทพมหานคร]] หลังจากนั้นก็ทรงพระประชวรอยู่เป็นระยะเวลาประมาณ 4 เดือนก็เสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 ที่พระตำหนักใหม่ [[วังสระปทุม]]
 
[[ไฟล์:Princess Sri Sangwal with King Ananda Mahidol and Prince Bhumibol Adulyadej.JPG|thumb|สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล สมเด็จพระราชชนนี และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ]]
เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกทรงรับเชิญเป็นแพทย์ประจำบ้านจากโรงพยาบาลแมคคอร์มิก [[จังหวัดเชียงใหม่]]<ref>โรงพยาบาลแมคคอร์มิค [http://www.mccormick.in.th/2013/index.php/2013-01-26-02-32-26 รู้จักแมคคอร์มิค - McCormick Hospital], เข้าถึงเมื่อ 6 กันยายน พ.ศ. 2559</ref> ในเดือนต่อมาก็เสด็จกลับ[[กรุงเทพมหานคร]] หลังจากนั้นก็ทรงพระประชวรอยู่เป็นระยะเวลาประมาณ 4 เดือนก็เสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 ที่พระตำหนักใหม่ [[วังสระปทุม]]<ref name="หมอเจ้าฟ้า">{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง= สุทธิลักษณ์ วุฒิเสน |ชื่อหนังสือ= กองทุนหมอเจ้าฟ้า / คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่|จังหวัด=เชียงใหม่|พิมพ์ที่=ธนบรรณการพิมพ์|ปี=2535|ISBN=9746723022|จำนวนหน้า=74}}</ref> ในขณะที่สมเด็จพระบรมราชชนกเสด็จสวรรคต สมเด็จพระบรมราชชนนีมีพระชนมายุเพียง 29 พรรษา ทรงต้องรับหน้าที่อบรมเลี้ยงดูพระราชโอรสพระราชธิดาทั้งสามพระองค์ตามลำพัง จนเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 [[คณะราษฎร]]ก่อ[[การเปลี่ยนระบอบการปกครองไทย|การเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย]] ที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข<ref name="อำนาจ 2 : ต่อสู้กู้ชาติ เอกราษฎร์ อธิปไตย">{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=รุ่งมณี เมฆโสภณ|ชื่อหนังสือ=อำนาจ 2 : ต่อสู้กู้ชาติ เอกราษฎร์ อธิปไตย|URL=|จังหวัด=กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่=บ้านพระอาทิตย์|ปี=2555|ISBN=9786165360791|จำนวนหน้า=183}}</ref> [[สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า]] จึงทรงแนะให้สมเด็จพระบรมราชชนนีพาพระราชนัดดาทั้ง 3 พระองค์ เสด็จไปศึกษาต่อที่เมือง[[โลซาน]] [[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์]]
 
===สมเด็จพระราชชนนี===