ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบขนส่งมวลชนเร็ว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Portalian (คุย | ส่วนร่วม)
ยุทธนาสาระขันธ์ (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 40:
 
== โครงสร้างทั่วไป ==
ขบวนรถไฟฟ้า จะมีจำนวนคันตู้โดยสารตั้งแต่ 3 - 10 คันตู้/ขบวน<ref name="White, 2002: 64">White, 2002: 64</ref> โดยจะรับกระแสไฟฟ้าจากรางที่สาม หรือระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว<ref>{{cite journal |url=http://www.sciencedirect.com/science?_ob=ArticleURL&_udi=B6V5B-45Y00VJ-7&_user=10&_rdoc=1&_fmt=&_orig=search&_sort=d&view=c&_version=1&_urlVersion=0&_userid=10&md5=692937bbd448cc2810f44d44e25f9456 |title= Review on rail corrugation studies |author=Sato, Yoshihiko; Matsumoto, Akira and Knothe, Klaus |journal=[[Wear (journal)|Wear]] |issue=1–2 |volume=253 |year=2002 |accessdate=2008-08-21 |doi=10.1016/S0043-1648(02)00092-3 |pages=130}}</ref> ส่วนใหญ่ขบวนรถไฟฟ้าจะใช้ล้อที่ทำมาจากเหล็ก แต่ในบางสายอาจมีการใช้ล้อยางก็ได้ ซึ่งจะเกิดแรงเย็นระหว่างฉุดลากขบวนรถ<ref>{{cite book |url=http://www.stm.info/English/en-bref/a-notrefierte.pdf | title=The Montreal Métro, a source of pride |author=Société de transport de Montréal |format=pdf |isbn=2-921969-08-4 |pages=6}}</ref>
 
=== ลักษณะเส้นทาง ===
บรรทัด 46:
[[ไฟล์:Hamburg Hochbahn - Bruecke am Stintfang.jpg|thumb|รถไฟฟ้าในเมือง[[ฮัมบวร์ค]]]]
 
แบบใต้ดิน จะอยู่ใต้ชั้นถนน ซึ่งจะทำให้การจราจรบนถนนคล่องตัวมากขึ้น เนื่องจากไม่ต้องเสนอเสียพื้นที่ทำบริเวณเกาะกลางสำหรับตอม่อทางยกระดับ แต่ก็มีข้อเสียคือ ต้องใช้งบประมาณเยอะมาก และการขุดอุโมงค์ต้องทำการปิดการจราจรบางส่วน อาจทำให้การจราจรติดขัด สำหรับการสร้างอุโมงค์ จะมีขั้นตอนที่เรียกว่า [[คัต-แอนด์-คัฟเวอร์]] ซึ่งเป็นการฉาบคอนกรีตไปในเนื้ออุโมงค์<ref name=Ovenden7>Ovenden, 2007: 7</ref> แบบระดับดินหรือระดับถนน มักใช้กับแถบชานเมือง ซึ่งใช้งบประมาณน้อยกว่าแบบใต้ดินหรือยกระดับ ส่วน[[รถไฟยกระดับ]] มีงบประมาณที่น้อยกว่าแบบใต้ดิน มักพบในเมืองที่การจราจรไม่ติดกันนัก
 
===สถานี===
[[ไฟล์:Getafe Central interior.JPG|thumb|upright|150px|สถานีรถไฟฟ้าของ[[รถไฟใต้ดินมาดริด]]]]
 
สถานีเป็นจุดจอดของรถไฟฟ้า เพื่อใช้ขนส่งผู้คน ซึ่งจะมีเครื่องจำหน่ายและเครื่องบัตรโดยสาร เพื่อให้เป็นระบบ ส่วนชานชาลาของแต่ละสถานีอาจแตกต่างกันไป เช่น [[ชานชาลาด้านข้าง]] [[ชานชาลาเกาะกลาง]]<ref>Uslan et al., 1990: 71</ref> สถานีใต้ดินมักจะแบ่งเป็น 2 ชั้น บางสถานีจะอยู่ลึกมาก ต้องใช้บันไดเลื่อนที่ยาวเป็นพิเศษ ในบางสถานีจะมี[[ศูนย์การค้า]]อยู่ด้วย<ref>Cervero, 1998: 8</ref> ส่วนสถานีแถบชานเมือง จะมีอาคาร[[อาคารจอดแล้วจร]] เพื่อให้ผู้ที่มาใช้บริการได้จอดรถส่วนตัว<ref>Cervero, 1998: 226</ref>
 
สถานีส่วนใหญ่มักออกแบบให้มีความสูงของชานชาลาเท่าระดับประตูของรถไฟ<ref>{{cite journal |title=Dual-Mode Traction Power Distribution for Light Rail Transit: A Design Option |author= Boorse, Jack W. |journal=Transportation Research Record |volume=1677 |year=1999 |pages=67–72 |doi=10.3141/1677-09 }}</ref> และระหว่างที่ขบวนรถจอด ผู้โดยสารต้อง[[Mind the gap|ระวังช่องว่างระหว่างชานชาลาและรถไฟ]]ด้วย บางสถานีใช้[[ประตูกั้นชานชาลา]] ซึ่งช่วยป้องกันคนตกตกลงไปในทางวิ่ง
 
สถานีรถไฟฟ้าที่อยู่ลึกที่สุดในโลก คือ สถานีอาร์เซนัลนา ที่เมือง[[เคียฟ]] [[ประเทศยูเครน]]<ref>{{cite journal |title= Numerical simulation for optimizing the design of subway environmental control system |author=Ming-Tsun Ke, Tsung-Che Cheng and Wen-Por Wang |journal=Building and Environment |year=2002 |volume=37 |issue=11 |pages=1139–1152 |doi= 10.1016/S0360-1323(01)00105-6}}</ref> สำหรับในประเทศไทยนั้น สถานีที่อยู่ลึกที่สุด คือ [[สถานีสีลม]]ในเส้นทาง[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล]] โดยระดับชานชาลาอยู่ลึก 30 เมตรจากผิวดิน