ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดบุรีรัมย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Love Art Sweet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 36:
'''จังหวัดบุรีรัมย์''' เป็น[[จังหวัดของประเทศไทย|จังหวัด]]หนึ่งใน[[ภาคอีสาน (ประเทศไทย)|ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]]ตอนล่าง มี[[จังหวัดในประเทศไทยเรียงตามจำนวนประชากร|จำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 5]] และมี[[จังหวัดในประเทศไทยเรียงตามพื้นที่|พื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 17]] ของ[[ประเทศไทย]]
 
จังหวัดบุรีรัมย์เป็นที่ตั้งของโบราณสถานสำคัญสมัยอารยธรรมขอมอย่าง[[อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง|พนมรุ้ง]] และ[[ปราสาทเมืองต่ำ|เมืองต่ำ]] และในปัจจุบันเป็นที่ตั้งของศูนย์กีฬาขนาดใหญ่ ซึ่งประกอบด้วย[[สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด|สโมสรฟุตบอล]], [[ช้าง อินเตอร์เนชั่นแนล เซอร์กิต|สนามแข่งรถ]] และค่ายมวย
 
== ประวัติศาสตร์ ==
บุรีรัมย์เป็นเมืองแห่งความรื่นรมย์ตามความหมายของชื่อเมืองที่น่าอยู่สำหรับคนในท้องถิ่นและเป็นเมืองที่น่ามาเยือนสำหรับคนต่างถิ่น เมืองปราสาทหินในเขตจังหวัดบุรีรัมย์มากมีไปด้วย ปราสาทหินใหญ่น้อย อันหมายถึงความรุ่งเรืองมาแต่อดีต จากการศึกษาของนักโบราณคดีพบหลักฐานการอยู่อาศัยของมนุษย์มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัย[[ทราวดี]] และที่สำคัญที่สุดพบกระจายอยู่ทั่วไปในจังหวัดบุรีรัมย์มาก คือ หลักฐานทางวัฒนธรรมของเขมรโบราณ ซึ่งมีทั้งปราสาทอิฐ และปราสาทหินเป็นจำนวนมากกว่า 60 แห่ง รวมทั้งได้พบแหล่งโบราณคดีที่สำคัญ คือ เตาเผา, ภาชนะดินเผา และภาชนะดินเผาแบบที่เรียกว่าเครื่องถ้วยเขมร ซึ่งกำหนดอายุได้ประมาณพุทธศตวรรษที่ 15-18 อยู่ทั่วไป และพระพุทธรูปมหาปรัชญาปารมิตตา หลังจากสมัยของวัฒนธรรมขอมหรือเขมรโบราณ แล้วหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของจังหวัดบุรีรัมย์ เริ่มมีขึ้นอีกครั้งตอนปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยปรากฏชื่อว่าเป็นเมืองเก่า และปรากฏชื่อต่อมาในสมัยกรุงธนบุรีถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ว่าบุรีรัมย์มีฐานะเป็นเมืองหนึ่ง และรู้จักในนามเมืองแปะจนถึง พ.ศ. 2476 ได้มีการจัดระเบียบราชการบริหารส่วนภูมิภาคใหม่ จึงได้ชื่อเป็นจังหวัดบุรีรัมย์มาจนถึงปัจจุบันนี้ชื่อเมืองบุรีรัมย์ ไม่ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์สมัยอยุธยา และธนบุรีเฉพาะชื่อเมืองอื่น ซึ่งปัจจุบันเป็นอำเภอในจังหวัดบุรีรัมย์ ได้แก่ [[อำเภอนางรอง|เมืองนางรอง]], [[อำเภอพุทไธสง|เมืองพุทไธสง]] และ[[อำเภอประโคนชัย|เมืองประโคนชัย]] พ.ศ. 2319
 
รัชสมัย[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] กรุงธนบุรี กรมการเมืองนครราชสีมา มีใบบอกเข้ามาว่า พระยานางรองคบคิดเป็น กบฏร่วมกับเจ้าโอ, เจ้าอิน และอุปฮาดเมืองจำปาศักดิ์ จึงโปรดให้[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] เมื่อยังดำรงตำแหน่ง เจ้าพระยาจักรีเป็นแม่ทัพไปปราบจับตัวพระยานางรองประหารชีวิต และสมทบเจ้าพระยาสุรสีห์ ([[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]]) คุมกองทัพหัวเมืองฝ่ายเหนือยกไปตีเมือง จำปาศักดิ์, เมืองโขง และเมืองอัตตะปือ ได้ทั้ง 3 เมือง ประหารชีวิต เจ้าโอ, เจ้าอิน และอุปฮาด [[เมืองจำปาศักดิ์]] แล้วเกลี้ยกล่อมเมืองต่าง ๆต่างๆ ใกล้เคียงให้สวามิภักดิ์ ได้แก่ เขมรป่าดง, ตะลุง, สุรินทร์, สังขะ และเมืองขุขันธ์ รวบรวมผู้คนตั้งเมืองขึ้นในเขตขอม เรียกว่า เมืองแปะ แต่งตั้งบุรีรัมย์ และให้บุตรเจ้าเมืองผไทสมันต์แห่งพุทธไธสงเป็นเจ้าเมืองคนแรก
 
ต่อมาประมาณ พ.ศ. 2440-2441 เมืองบุรีรัมย์ได้กลับไปขึ้นกับมณฑลนครราชสีมาเรียกว่า "บริเวณนางรอง" ประกอบด้วย เมืองบุรีรัมย์ นางรอง รัตนบุรี ประโคนชัย และพุทไธสง พ.ศ. 2442 มีประกาศเปลี่ยนชื่อ ในคราวนี้เปลี่ยนชื่อ บริเวณนางรองเป็น "เมืองนางรอง"มีฐานะเป็นเมืองจัตวา ตั้งที่ว่าการอยู่ที่เมืองบุรีรัมย์ แต่ตราตำแหน่งเป็นตราผู้ว่าการนางรอง กระทรวงมหาดไทยจึงได้ประกาศเปลี่ยนชื่อเมืองเป็น "บุรีรัมย์" และเปลี่ยนตราตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการเมืองบุรีรัมย์ ตั้งแต่วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2444 เป็นต้นมา
บรรทัด 238:
ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ได้ค้นพบนกกระเรียนพันธ์ไทยซึ่งคาดว่าสูญพันธุ์จากธรรมชาติมาแล้ว 50 ปี ที่พื้นที่ชุ่มน้ำหน่วยพิทักษ์ป่าห้วยแสงเหนือ<ref>{{cite web|url=https://mgronline.com/local/detail/9600000121050|title=พบฝูง “นกกระเรียนไทย” สูญพันธุ์จากป่า กว่า 10 ตัว ลงหากินในพื้นที่ชุ่มน้ำบุรีรัมย์|accessdate=30 มีนาคม 2562}}</ref>
 
นอกจากนั้นบริเวณตอนใต้ของจังหวัดบุรีรัมย์ เป็นพื้นที่เทือกเขา เป็น [เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่] และอุทยานแห่งชาติตาพระยา อันเป็นส่วนหนึ่งของผืนป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่มรดกโลกทางธรรมชาติ มีสัตว์ป่าหายากหลาชนิดอาศัย เป็นแหล่งกำเนิดแม่น้ำลำธารหลายสาย ไหลลงแม่น้ำมูล อันเป็นแม่น้ำสำคัญของภาคอีสาน ที่ไหลผ่านจังหวัดบุรีรัมย์
 
== การเมืองการปกครอง ==
บรรทัด 452:
== เศรษฐกิจ ==
=== ภาพรวม ===
ในปัจจุบัน ทั้งเกษตรกรรม, อุตสาหกรรม และพาณิชยกรรมต่าง ๆต่างๆ ในจังหวัดบุรีรัมย์ ได้เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ในด้านการเกษตร พืชผลิตผลที่สำคัญของบุรีรัมย์ ได้แก่ ข้าว (มากกว่า 500,000 ไร่), อ้อย (มากกว่า 5,000 ไร่), ยางพารา (มากกว่า 50,000 ไร่) และพืชอื่น ๆอื่นๆ ในสัดส่วนน้อย ส่วนในด้านอุตสาหกรรม แหล่งอุตสาหกรรมหลักของบุรีรัมย์อยู่ที่อำเภอเมืองบุรีรัมย์ ส่วนแหล่งอุตสาหกรรมอื่น ๆอื่นๆ ได้แก่ที่อำเภอนางรอง, ลำปลายมาศ และสตึก
 
=== การขนส่ง ===
==== ทางบก ====
;ทางหลวงแผ่นดิน
* {{ป้ายทางหลวง|H|24}} [[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24|ทล. 24]] ผ่าน[[อำเภอหนองกี่]], [[อำเภอนางรอง]], [[อำเภอเฉลิมพระเกียรติ (จังหวัดบุรีรัมย์)|อำเภอเฉลิมพระเกียรติ]] และ[[อำเภอประโคนชัย]]
* {{ป้ายทางหลวง|H|226}} [[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 226|ทล. 226]] ผ่าน[[อำเภอลำปลายมาศ]], [[อำเภอเมืองบุรีรัมย์]] และ[[อำเภอกระสัง]]
* {{ป้ายทางหลวง|H|219}} [[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 219|ทล. 219]] ผ่าน[[อำเภอสตึก]], [[อำเภอบ้านด่าน]] และ[[อำเภอเมืองบุรีรัมย์]]
* {{ป้ายทางหลวง|H|218}} [[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 218|ทล. 218]] ผ่าน[[อำเภอเมืองบุรีรัมย์]] และ[[อำเภอนางรอง]]
* {{ป้ายทางหลวง|H|224}} [[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 224|ทล. 224]] ผ่าน[[อำเภอปะคำ]], [[อำเภอละหานทราย]] และ[[อำเภอบ้านกรวด]]
* {{ป้ายทางหลวง|H|348}} [[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 348|ทล. 348]] ผ่าน[[อำเภอนางรอง]], [[อำเภอปะคำ]] และ[[อำเภอโนนดินแดง]]
* {{ป้ายทางหลวง|H|202}} [[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 202|ทล. 202]] ผ่าน[[อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์]] และ[[อำเภอพุทไธสง]]
* {{ป้ายทางหลวง|H|207}} [[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 207|ทล. 207]] ผ่านเฉพาะ[[อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์]]
* {{ป้ายทางหลวง|H|2074}} ทล. 2074 ผ่านอำเภอเมืองบุรีรัมย์, [[อำเภอคูเมือง]] และ[[อำเภอพุทไธสง]]
* {{ป้ายทางหลวง|H|2445}} ทล. 2445 ผ่านอำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอประโคนชัย และอำเภอบ้านกรวด
* {{ป้ายทางหลวง|H|2208}} ทล.2208 ผ่านอำเภอเมืองบุรีรัมย์กระสัง, [[อำเภอประโคนพลับพลาชัย]] และอำเภอบ้านกรวดประโคนชัย
* {{ป้ายทางหลวง|H|22082226}} ทล.2226 ผ่าน[[อำเภอแคนดง]] และอำเภอสตึก 2208
* {{ป้ายทางหลวง|H|2073}} ทล.2073 ผ่านอำเภอกระสังลำปลายมาศ, [[อำเภอพลับพลาชัยชำนิ]] และอำเภอประโคนชัยนางรอง
* {{ป้ายทางหลวง|H|22262166}} ทล.2166 2226ผ่านอำเภอลำปลายมาศ, [[อำเภอหนองหงส์]] และอำเภอหนองกี่
ผ่าน[[อำเภอแคนดง]] และอำเภอสตึก
* {{ป้ายทางหลวง|H|2073}} ทล. 2073
ผ่านอำเภอลำปลายมาศ [[อำเภอชำนิ]] และอำเภอนางรอง
* {{ป้ายทางหลวง|H|2166}} ทล. 2166
ผ่านอำเภอลำปลายมาศ [[อำเภอหนองหงส์]] และอำเภอหนองกี่
* ทางหลวงชนบท บร.2016 ผ่านอำเภอนางรอง และ[[อำเภอโนนสุวรรณ]]
* ทางหลวงชนบท บร. 3048 ผ่านอำเภอเมืองบุรีรัมย์ และ[[อำเภอห้วยราช]]
* ทางหลวงชนบท บร. 4031 ผ่านอำเภอพุทไธสง และ[[อำเภอนาโพธิ์]]
 
;รถโดยสารประจำทาง
การเดินทางโดยรถโดยสารประจำทางจาก[[กรุงเทพมหานคร]]มายังจังหวัดบุรีรัมย์ สามารถขึ้นรถได้ที่[[สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)|สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ]] และลงที่[[สถานีขนส่งจังหวัดบุรีรัมย์]] ผู้ให้บริการ อาทิ กิจการทัวร์, บริษัท ขนส่ง จำกัด, ศิริรัตนพลทัวร์, นครชัยแอร์ นอกจากนี้ยังมีรถโดยสารจากกรุงเทพฯ มายัง[[อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง]]โดยตรง
 
นอกจากเส้นทางกรุงเทพฯ – บุรีรัมย์ และกรุงเทพฯ – พรนมรุ้ง แล้ว ยังมีเส้นทางจากจังหวัดบุรีรัมย์ไปยังจังหวัดอื่น ๆอื่นๆ และภูมิภาคอื่น ๆอื่นๆ ของประเทศไทย
 
จังหวัดบุรีรัมย์มีสถานีขนส่งผู้โดยสารหลัก 3 แห่ง ได้แก่
เส้น 493 ⟶ 488:
ในเขต[[อำเภอเมืองบุรีรัมย์]] มี[[รถสองแถว]]สีชมพูให้บริการทั้งหมด 2 สาย ดังนี้
# สายตลาดเทศบาล - เขากระโดง ขึ้นรถได้ที่[[สถานีรถไฟบุรีรัมย์]] โรงพยาบาลบุรีรัมย์ และสถานีขนส่ง
# สาย บขส.เก่า - บิ๊กซ๊ - แม็คโคแม็คโคร ขึ้นรถได้ที่สถานีขนส่งจังหวัดบุรีรัมย์
 
<gallery>
เส้น 503 ⟶ 498:
 
;รถไฟ
จังหวัดบุรีรัมย์มีสถานีรถไฟตาม[[ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ|เส้นทางรถไฟสายนครราชสีมา-อุบลราชธานี]] ผ่านอำเภอต่าง ๆต่างๆ ได้แก่ ลำปลายมาศ, เมืองบุรีรัมย์, ห้วยราช และกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์มีสถานีรถไฟทั้งหมด 9 แห่ง และที่หยุดรถ 1 แห่ง และมี[[ทางรถไฟสายเขากระโดง|ทางแยกไปลานเก็บหินโรงโม่หินศิลาชัย]] ระยะทาง 8 กิโลเมตร
 
สถานีรถไฟบุรีรัมย์เป็นสถานีรถไฟประจำจังหวัด ขบวนรถที่ให้บริการอาทิ [[รถด่วนพิเศษอีสานวัตนา]] (ขบวนที่ 23), รถด่วนพิเศษดีเซลรางที่ 21, รถด่วนที่ 67, รถด่วนดีเซลรางที่ 71 นอกจากนี้ยังมีขบวนรถเร็วซึ่งวิ่งระหว่างกรุงเทพฯ – อุบลราชธานี และขบวนรถท้องถิ่น วิ่งระหว่างนครราชสีมา – อุบลราชธานี
เส้น 526 ⟶ 521:
** ศาลหลักเมืองบุรีรัมย์
**บ้านโนนสำราญ หมู่บ้านท่องเที่ยวของจังหวัดบุรีรัมย์ มีการทอผ้าไหมเพื่อจัดจำหน่าย
* '''[[วนอุทยานเขากระโดง]]''' ตั้งอยู่ที่บ้านน้ำซับ ตำบลเสม็ด อดีตรู้จักกันในชื่อ "พนมกระดอง" มีความหมายว่า "ภูเขากระดองเต่า" เพราะคล้ายกระดองเต่า ซึ่งต่อได้เรียกเพี้ยนเป็น "กระโดง" บนยอดเขามีพระสุภัทรบพิตร ซึ่งเป็น[[พระพุทธรูป]]ก่ออิฐฉาบปูนขนาดใหญ่ หน้าตักกว้าง 12 เมตร ฐานยาว 14 เมตร สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2512 เดิมองค์พระเป็นสีขาว แต่เมื่อโดนแดดทำให้คล้ายสีดำ จึงแก้เป็นสีทอง นอกจากนั้นยังมีบันไดนาคราช, พระพุทธบาทจำลอง, ปราสาทเขากระโดง, ปากปล่องภูเขาไฟ และอ่างเก็บน้ำเขากระโดง (อ่างเก็บน้ำวุฒิสวัสดิ์) บริเวณหน้าที่ทำการวนอุทยาน
* อ่างเก็บน้ำและชลประทาน
** อ่างเก็บน้ำห้วยตลาด เป็นแหล่งดูนกน้ำแห่งหนึ่งของจังหวัดบุรีรัมย์ มีพื้นที่ 4,434 ไร่ มีนกกระสาปากเหลืองอาศัยอยู่ นอกจากนี้ยังพบนกกระสาดำ, นกกาบบัว, นกอ้ายงั่ว, เป็ดเทา และนกน้ำต่าง ๆต่างๆ อีกมากมาย
** อ่างเก็บน้ำห้วยจรเข้มาก เป็นทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ่ สร้างขึ้นเพื่อการชลประทานและการประปา มีพื้นที่ 3,876 ไร่ อยู่ในตำบลบ้านบัว ตำบลเสม็ด และตำบลสะแกโพรง มีไม้พื้นเมืองยืนต้น นกประจำถิ่น และนกอพยพตามฤดูกาลเป็นจำนวนมากกว่า 170 ชนิด
* ศูนย์กีฬาของบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
** [[ช้างอารีนา]] (เดิมคือ ไอ-โมบาย สเตเดียม) เป็นสนามฟุตบอลที่ได้มาตรฐานแห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทยที่ไม่มีลู่วิ่งคั่นสนามและผ่านมาตรฐาน[[สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ]] (FIFA) สามารถจัดเกมการแข่งขันระดับชาติได้ เป็นสนามที่สวยงามอีกแห่งหนึ่งของเมืองไทย ปัจจุบันเป็นสนามเหย้าของทีม[[บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด]]
** [[ช้าง อินเตอร์เนชั่นแนล เซอร์กิต]] เป็นสนามแข่งรถมาตรฐานสมาพันธ์รถยนต์นานาชาติ และเป็นสนามแข่งรถที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
** บุรีรัมย์ คาสเซิ่ล เป็นแหล่งการค้าแห่งใหม่ของบุรีรัมย์ ตั้งอยู่ระหว่างช้างอารีนา กับช้างเซอร์กิต มีปราสาทหินพนมรุ้งจำลอง สวนศิวะ 12 และมีร้านค้า ร้านอาหารต่าง ๆ
 
<gallery>
ไฟล์:รัชกาล ๑.jpg|พระบรมราชานุสาวรีย์ ร. 1
ไฟล์:Buriram City Pillar.jpg|ศาลหลักเมืองบุรีรัมย์
ไฟล์:Thunder Castle 2.jpg|ช้างอารีนา
เส้น 567 ⟶ 562:
;อำเภอนาโพธิ์
 
* หมู่บ้านทอผ้าไหมนาโพธิ์ โดยมีผ้าไหมพื้นไหมหางกระรอก, ผ้าโสร่ง, ผ้าขาวม้า และผ้ามัดหมี่ ลักษณะเด่นของผ้าไหมนาโพธิ์ คือ เนื้อแน่น และเส้นไหมละเอียด
* วัดท่าเรียบ มีศิลปะแบบอีสาน และภาพจิตรกรรมฝาผนังแบบอีสานหรือฮูปแต้ม
* พระธาตุบ้านดู่ เป็นพระเจดีย์ศักดิ์สิทธิ์ที่มีอายุหลายร้อยปี
 
;อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์
* ปรางค์กู่สวนแตง เป็นเทวาลัยในศาสนาฮินดู สร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 โดยได้รับอิทธิพลจากศิลปกรรมสมัยนครวัดเป็นโบราณสถานอีกแห่งที่ถูกวางระเบิดจนองค์ปรางค์พังทลายลงมาเพื่อโจรกรรม ชิ้นส่วนปราสาทไปขาย ภายหลังกรมศิลปากรได้บูรณะใหม่จนมีความสมบูรณ์ และประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2547<br>ลักษณะของกู่ประกอบด้วย ปรางค์อิฐ 3 องค์ ตั้งเรียงกันในแนวเหนือ-ใต้ บนฐานศิลาแลงเดียวกัน อาคารทั้งหมดหันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีประตูหน้าเพียงประตูเดียว อีก 3 ด้าน สลักเป็นประตูหลอก ปรางค์องค์กลางมีขนาดใหญ่และมีสภาพค่อนข้างสมบูรณ์เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ด้านหน้าทั้ง 3 ด้าน มีลักษณะยื่นออกมาและมีแผ่นศิลาทรายรองรับ ส่วนปรางค์อีกสององค์มีขนาดเล็กกว่าฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีประตูเดียวทางด้านหน้า เช่นกัน ส่วนผนังอีก 3 ด้าน ก่อเรียบทึบ สำหรับบนพื้นหน้าปรางค์มีส่วนประกอบสถาปัตยกรรมหินทรายอื่น ๆอื่นๆ ตกหล่นอยู่ เช่น ฐานบัว, ยอดปรางค์, กลีบขนุน, รูปนาค 6 เศียร อายุของกู่สวนแตงสามารถกำหนดได้จากทับหลังของปรางค์ ซึ่งปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่ [[พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนคร]] อยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 17 เนื่องจากภาพสลักบนทับหลังทั้งหมดมีลักษณะตรงกับศิลปะขอมแบบนครวัด ที่มีอายุอยู่ในช่วงเวลาดังกล่าว อาทิเช่น [[ทับหลังพระนารายณ์ตรีวิกรม|ทับหลังสลักภาพพระนารายณ์ตรีวิกรม]] (ตอนหนึ่งในวามนาวตารแสดงภาพพระนารายณ์ย่างพระบาท 3 ก้าว เหยียบโลกบาดาล, โลกมนุษย์ และโลกสวรรค์), [[ทับหลังศิวนาฎราช|ทับหลังภาพศิวนาฎราช]], [[ทับหลังกวนเกษียรสมุทร|ทับหลังภาพการกวนเกษียรสมุทร]], [[ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์|ทับหลังภาพนารายณ์บรรทมสินธุ์]] ฯลฯ แต่ละชิ้นมีขนาดใหญ่สวยงามน่าสนใจยิ่ง
* กู่ฤๅษีหนองเยือง เป็นอโรคยาศาลหรือโรงพยาบาล สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7
* วัดหลักศิลา มีพระอุโบสถอายุนับร้อยปี สร้างในแบบศิลปะเชิงช่างกุลา คือมีการมุงหลังคาซ้อนเป็นชั้นๆ คล้ายกับศิลปะไทใหญ่ ซึ่งหาชมได้ยากในปัจจุบัน
 
เส้น 593 ⟶ 588:
;อำเภอหนองกี่
[[ไฟล์:Prasattong beach.jpg|thumb|หาดปราสาททอง]]
* หาดปราสาททอง หรืออ่างเก็บน้ำทุ่งกระเต็น ตั้งอยู่หน้าองค์การบริหารส่วนตำบลเย้ยปราสาท ระยะห่างระหว่างขอบสระถึงเกาะกลาง 250 เมตร เนื้อที่ 2450 ไร่ หาด ปราสาททอง ยังเหมาะแก่การปั่นจักรยานรอบ ๆรอบๆ อ่างเก็บน้ำ โดยรวมของระยะทางทั้งหมด เกือบ 10 กิโลเมตร ที่พิเศษกว่านั้น ยังเป็นสถานที่ฝึกซ้อมกีฬาทางน้ำ เช่น เจ็ทสกี ระยะทางฝึกซ้อมและการแข่งขัน 9.3 กิโลเมตร โดยสามารถเดินทางผ่านทางแยกต่างระดับ [[อำเภอสีคิ้ว]] เลี้ยวมาทาง[[อำเภอโชคชัย ]] ผ่าน[[อำเภอหนองบุญมาก]] ถึงสี่แยก[[อำเภอหนองกี่]] จากนั้นเลี้ยวซ้ายประมาณ 3 กิโลเมตร ก็จะถึงหาด
 
;อำเภอปะคำ
เส้น 603 ⟶ 598:
[[ไฟล์:Prasat Nong Hong-004.jpg|thumb|150px|ปราสาทหนองหงส์]]
* ปราสาทหนองหงส์
* อนุสาวรีย์เราสู้ อยู่ริมทางหลวงในเขต ต.โนนดินแดง อ.โนนดินแดง จ.บุรีรัมย์ ชาวบุรีรัมย์ร่วมสร้างขึ้นเมื่อ [[พ.ศ. 2522]] เพื่อรำลึกถึงวีรกรรมของประชาชน, ตำรวจ และทหาร ที่เสียชีวิตจากการต่อสู้กับผู้ก่อ การก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ ซึ่งขัดขวางการก่อสร้าง ถนนสายละหานทราย - ตาพระยา
* เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ ป่าที่อุดมสมบูรณ์ทางตอนใต้ของจังหวัดบุรีรัมย์ ห่างจากอำเภอโนนดินแดง 5 กิโลเมตร เป็นแหล่งต้นน้ำสำคัญ ทำให้เกิดพืชพันธุ์ สัตว์ป่าที่หลากหลาย
[[ไฟล์:น้ำตกผาแดง.jpg|150px|thumbnail|right|น้ำตกผาแดง]]
* ผาแดง อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติดงใหญ่ บ้านหนองเสม็ด ต.ลำนางรอง อ.โนดินแดง จ.บุรีรัมย์ เป็นเขตติดต่อระหว่าง อ.โนนดินแดง กับ [[อ.ตาพระยา]] [[จ.สระแก้ว]] เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติแห่งใหม่ของจังหวัดบุรีรัมย์ นักท่องเที่ยวที่รักธรรมชาติสามารถมาสัมผัสอากาศบริสุทธิ์ ชมดวงอาทิตย์ตก ทัศนียภาพของผืนป่าธรรมชาติอันกว้างใหญ่สวยงามของเทือกเขาบรรทัด และป่าสงวนแห่งชาติดงใหญ่ โดยเฉพาะช่วงที่มีอากาศหนาวเย็นในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงกุมภาพันธ์ นักท่องเที่ยวจะได้พบกับทะเลหมอกปกคลุมป่าดงใหญ่ - เทือกเขาบรรทัดอันซับซ้อนสวยงามด้วย นอกจากนี้ ยังเป็นจุดพักรถของคนเดินทางผ่านจังหวัดบุรีรัมย์ ไปยังจังหวัดต่าง ๆต่างๆ ในภาคตะวันออกด้วย ซึ่งช่วงนี้ในแต่ละวันได้มีนักท่องเที่ยวและผู้ที่เดินทางแวะมาเที่ยวชมพักผ่อน ถ่ายภาพเป็นที่ระลึกเป็นจำนวนมาก ไม่แพ้แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติอื่น ๆอื่นๆ แหล่งท่องเที่ยวดังกล่าว สามารถเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวอื่น ๆอื่นๆ ในพื้นที่อำเภอโนนดินแดงอีกด้วย
 
;อำเภอละหานทราย
เส้น 621 ⟶ 616:
* กุฏิฤๅษีหนองบัวราย เป็นปราสาทขอม สร้างขึ้นเพื่อเป็นอโรคยาศาล ตั้งอยู่บ้านหนองบัวราย ตำบลจรเข้มาก ซึ่งตั้งอยู่บริเวณเชิงเขาพนมรุ้ง
* ปราสาทบ้านบุ บ้านบุ ตำบลจรเข้มาก เป็นปราสาทขอมสร้างขึ้นเพื่อเป็นธรรมศาลา ที่พักของผู้แสวงบุญในสมัยขอมโบราณ
* หมู่บ้านโฮมสเตย์โคกเมือง ตั้งอยู่ที่บ้านโคกเมือง ตำบลจรเข้มาก เป็นหมู่บ้านโฮมสเตย์ที่ได้รับรางวัลระดับประเทศมากมาย มีกิจกรรมให้เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมากมาย อาทิ เรียนรู้การปลูกข้าวหอมมะลิภูเขาไฟ, การทอเสื่อกก, การทอผ้าไหม, การเรียนรู้เกษตรวิถีพอเพียง เป็นต้น
* อ่างเก็บน้ำสนามบิน อดีตเป็นสนามบินเพื่อใช้ในการส่งเสบียง สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสงครามยุติ จึงได้สร้างอ่างเก็บน้ำกั้นลำห้วยระเวีย เพื่อกักเก็บน้ำใช้ในการอุปโภค บริโภคภายในเขตเทศบาลเมืองประโคนชัย ปัจจุบันได้รับการประกาศเป็นเขตห้ามล่าสัตว์ป่าอ่างเก็บน้ำสนามบิน เป็นสถานที่พักผ่อน ชมธรรมชาติ โดยมีนกประจำถิ่นและนกอพยพอาศัยมากมาย ปัจจุบันมีการปล่อย [[นกกระเรียนพันธุ์ไทย]] ในบริเวณนี้อีกด้วย
* [[ชุมชนโบราณบ้านแสลงโทน]] เป็นชุมชนโบราณตั้งอยู่ในเขตบ้านแสลงโทน ต.แสลงโทน อ.ประโคนชัย อยู่ห่างจากตัวจังหวัดไปทางทิศใต้ ตามทางสายบุรีรัมย์-ประโคนชัย ระยะทาง 25 กิโลเมตร ทางหลวงตัดผ่ากลางชุมชนโบราณ มองเห็นคันดินเป็นแนวสูงประมาณ 5-7 เมตร อยู่สองข้างทาง ชุมชนโบราณแห่งนี้มีลักษณะเป็นรูปกลมรีวางตามแนวตะวันออก -ตะวันตก ยาวประมาณ 5,756 เมตร กว้าง 1,750 เมตร มีคูเมืองโอบอยู่นอกคันดิน 3 ชั้น ปัจจุบันเหลือเพียงชั้นเดียว ใกล้คันดินด้านที่ตั้งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแสลงโทนในปัจจุบัน มีเนินดินซึ่งมีก้อนหินศิลาแลงกระจัดกระจายเข้าใจว่าเคยมีศาสนสถาน แต่ปัจจุบันเป็นที่ตั้งศาลเจ้าพ่อแสลงโทน เรียกว่า ศาลปู่เจ้าหรือกระท่อมเนียะตา เป็นศาลเจ้า ซึ่งเป็นที่เคารพนับถือของชาวบ้านแสลงโทนและชาวบ้านใกล้เคียง สร้างด้วยไม้ระแนง หลังคามุงกระเบื้องและพื้นเป็นปูนซีเมนต์ ทั้งคูน้ำคันดิน (ที่เหลืออยู่ริมทางหลวง) และเนินดินศาลเจ้าพ่อแสลงโทน ได้ประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานแล้ว นอกจากนี้ยังพบหลักฐานอื่นที่สำคัญ คือ สระน้ำโบราณรูปสี่เหลี่ยมในเขตวัดแสลงโทน 2 สระ พบเศษภาชนะดินเผา, โครงกระดูกมนุษย์, เครื่องประดับ, เทวรูปเก่า และใบเสมาเก่า ซึ่งเข้าใจว่าบริเวณนี้เคยเป็นศาสนสถานสำคัญประจำชุมชนโบราณ
* เส้นทางกุ้งจ่อม กระยาสารท ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตำบลประโคนชัย มีการผลิตกุ้งจ่อม ซึ่งเป็นภูมิปัญญาการถนอมอาหารเฉพาะถิ่นของอำเภอประโคนชัย และกระยาสารท อาหารหวานที่คู่เมืองประโคนชัย ซึ่งเป็นขนมสำคัญในงานประเพณีแซนโฎนตา ประเพณีสำคัญของคนไทยเชื้อสายเขมร ซึ่งเป็นชนกลุ่มใหญ่ของอำเภอประโคนชัย นอกจากนั้นยังมีอาหารท้องถิ่นเฉพาะถิ่นประโคนชัย อาทิ กุ้งจ่อมผัด, แกงฮ็อง, แกงบวน เป็นต้น
 
;อำเภอเฉลิมพระเกียรติ
[[ไฟล์:Phanom Rung Wikimedia Commons.jpg|thumb|160px|อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง]]
* [[อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง]] ปราสาทเขาพนมรุ้งได้รับการยกย่องว่าเป็นปราสาทหินที่งดงามมากแห่งหนึ่งของไทย ตั้งอยู่บนยอดเขาพนมรุ้งซึ่งเคยเป็นภูเขาไฟมาก่อน ตัวปราสาทสร้างด้วยหินทรายสีชมพู และศิลาแลงอย่างยิ่งใหญ่อลังการมีการออกแบบผังปราสาทตามแนวความเชื่อที่สอดคล้องกับภูมิประเทศศาสนสถานแต่ละส่วนประดับด้วยลวดลายวิจิตรงามตาโดยเฉพาะหน้าบันศิวนาฎราชและทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ที่มีความงดงามละเอียดอ่อนช้อย นับเป็นโบราณสถานอันทรงคุณค่าที่ไม่ควรพลาดชมในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5 (ประมาณเดือน เม.ย. - พ.ค.) ของทุกปีจะมีประเพณีเดินขึ้นเขาพนมรุ้งเพื่อชมปรากฏการณ์ธรรมชาติอันน่ามหรรศจรรย์คือมหรรศจรรย์ คือ พระอาทิตย์จะสาดแสงตรงเป็นลำทะลุช่องประตูปราสาททั้ง 15 บานราวปาฏิหาริย์และเกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวในรอบปีเท่านั้น
* น้ำตกเขาพนมรุ้ง
* ปราสาทหนองกง ห่างจากเชิงพนมรุ้งไปทางทิศใต้ 2.8 กิโลเมตร
* วัดเขาพระอังคาร เป็นวัดที่สร้างขึ้นใหม่ ตั้งอยู่บนยอดเขาพระอังคารซึ่งสูงประมาณ 320 เมตรจากระดับน้ำทะเล มีโบสถ์ที่ประยุกต์จากสถาปัตยกรรมหลายสมัย ดูสวยงามแปลกตา เป็นวัดที่สวยงามใหญ่โตแห่งหนึ่งของบุรีรัมย์ มีโบสถ์, ศาลา และอาคารต่าง ๆต่างๆ สร้างเลียนแบบสถาปัตยกรรมสมัยต่าง ๆต่างๆ หลายรูปแบบงดงาม แปลกตาและน่าสนใจยิ่ง ภายในโบสถ์มีภาพจิตรกรรมฝาผนัง และเรื่องราวพุทธชาดกเป็นภาษาอังกฤษด้วย บริเวณวัดเป็นปากปล่องภูเขาไฟคาดว่าเคยเป็นที่ตั้งของโบราณสถานสมัยทวารวดีเพราะเสมาหินแกะสลักสมัยดังกล่าวหลงเหลืออยู่เป็นจำนวนมาก
* เขาอังคาร เป็นภูเขาไฟที่ดับแล้วอีกลูกหนึ่งในบุรีรัมย์ อยู่ในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ ห่างจากปราสาทพนมรุ้ง 20 กิโลเมตร โดยลงมาจากพนมรุ้ง ถึงบ้านตาเป็กแล้วเลี้ยวซ้ายมาตามทางที่จะไปละหานทรายประมาณ 13 กิโลเมตรแล้วเลี้ยวขวาเข้าทางลูกรังอีกประมาณ 7 กิโลเมตรพบโบราณสถานเก่าแก่ และใบเสมาหินทรายสมัยทวารวดีสำคัญหลายชิ้น
[[ไฟล์:น้ำตกเขาพระอังคาร.jpg|thumb|150px|น้ำตกเขาพระอังคาร]]
เส้น 637 ⟶ 632:
 
;อำเภอบ้านกรวด
* แหล่งหินตัด แหล่งหินตัด จังหวัดบุรีรัมย์ห่างจากตัวอำเภอบ้านกรวด 7 กม. เป็นลานหินกว้างเกือบ 2,000 ไร่ ใกล้ชายแดนติดกับราชอาณาจักรกัมพูชา มีร่องรอยการตัดหิน เพื่อนำไปสร้างปราสาทหินต่าง ๆต่างๆ ในเขตอีสานใต้ รวมทั้งปราสาทพนมรุ้ง และปราสาทเมืองต่ำ
* เตานายเจียน เป็นเตาเผาโบราณอายุประมาณ 1,000 ปี และได้พบเครื่องเคลือบโบราณจำนวนมาก คนโบราณใช้เผาเครื่องปั้นดินเผา หม้อ และไห ต่าง ๆต่างๆ
* เตาสวาย เป็เตาเผาโบราณอายุประมาณ 1,000 ปี เป็นที่ผลิตเครื่องถ้วยศิลปะขอม ที่มีขนาดใหญ่ กรมศิลปากรได้เข้ามาบูรณะปฏิสังขรณ์ขึ้นและสร้างอาคารครอบเตาไว้ ภายในมีนิทรรศการเครื่องเคลือบโบราณ และมีเศษเครื่องถ้วยที่ขุดพบบางส่วน ตั้งอยู่ที่บ้านโคกเมือง [[เทศบาลตำบลโนนเจริญ]] อำเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์
* จุดผ่อนปรนชายแดนช่องสายตะกู ตั้งอยู่ในเขต [[เทศบาลตำบลจันทบเพชร]] เป็นตลาดค้าขายติดชายแดนบนเทือกเขาพนมดงรัก ประชาชนสามารถเลือกซื้อสินค้าบริเวณชายแดนได้
เส้น 645 ⟶ 640:
* พิพิธภัณฑ์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ วัดป่าพระสบาย เป็นที่เก็บรวบรวมวัตถุโบราณในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่พบในเขตตำบลบึงเจริญ
* ศูนย์วัฒนธรรมอำเภอบ้านกรวด ตั้งอยู่ในโรงเรียนบ้านกรวดวิทยาคาร เป็นที่เก็บรักษาเครื่องเคลือบที่ขุดพบในเขตอำเภอบ้านกรวด
* ผึ้งร้อยรัง เป็นสถานที่ที่ผึ้งจะมาทำรังบนต้นไม้ขนาดใหญ่เป็นร้อยๆ รัง
* ปราสาทถมอ ปราสาทหินเก่าแก่สันนิษฐานว่าเป็นธรรมศาลา สร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18
* ปราสาททอง ตั้งอยู่บริเวณด้านหลังตลาดสดเทศบาลตำบลบ้านกรวด สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 16 มีการขุดพบทับหลังในสภาพสมบูรณ์
เส้น 702 ⟶ 697:
[[ไฟล์:ขึ้นเขาพนมรุ้ง.jpg|thumbnail|ประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง]]
[[ไฟล์:แข่งเรือยาว สตึก.jpg|thumb|ประเพณีแข่งเรือยาวที่[[อำเภอสตึก]]]]
; งานดอกฝ้ายคำบาน: ช่วงเดือน ม.ค. - ก.พ. ของทุกปี บริเวณปราสาทเขาพนมรุ้ง
; มหกรรมว่าวอีสาน: ช่วงเดือน ม.ค. บริเวณสนามกีฬามหาวิทยาลัยรามคำแหง วิทยาเขตบุรีรัมย์ [[อ.ห้วยราช]] ในงานมีการประกวดขบวนว่าว, ธิดาว่าว, การนำเสนอสินค้า, วัฒนธรรม, ภูมิปัญญาอำเภอห้วยราช และไฮไลท์อยู่ที่ การแข่งขันว่าวอีสานหรือว่าวแอก ที่มีรูปร่างเอกลักษณ์ของบุรีรัมย์ ด้านบนติดแอก ซึ่งแอกเป็นอุปกรณ์ที่ทำให้เกิดเสียง ซึ่งมีการวิ่งว่าวในช่วงเช้าของวันแรก และเอาว่าวลงในช่วงเช้าของวันที่ 2 ในช่วงกลางคืนของคืนแรก จึงมีกิจกรรม "นอนดูดาว ชมว่าวกลางคืน"
; มหกรรมมวยไทยเทศกาลกินไก่ไหว้เจ้าพ่อขุนศรี: ประมาณปลายเดือน กุมภาพันธ์ ของทุกปี บริเวณสนามที่ว่าการอำเภอ [[อ.หนองกี่]]
; นมัสการพระเจ้าใหญ่วัดศีรษะแรด (วัดหงส์) : วันขึ้น 14 ค่ำ ถึงวันแรก 1 ค่ำ เดือน 3 หรือตรงกับ '''[[วันมาฆบูชา]]''' ของทุกปี ที่วัดศีรษะแรด [[อ.พุทไธสง]]
; นมัสการรอยพระพุทธบาทจำลอง: วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 หรือ '''[[วันมาฆบูชา]]'''
; งานประเพณีขึ้นเขากระโดง: ช่วงเดือน เม.ย. ของทุกปี ณ วนอุทยานแห่งชาติเขากระโดง ตำบลเสม็ด [[อ.เมืองบุรีรัมย์]]
; งานประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง: เดือนเมษายน ของทุกปี (วันเพ็ญเดือนห้า) ณ อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง [[อ.เฉลิมพระเกียรติ]]
; งานเครื่องเคลือบพันปี: ช่วงเดือน เม.ย. ของทุกปี ที่ หน้าที่ว่าการอำเภอ [[อ.บ้านกรวด]] ในงานมีการจัดขบวนนางรำ ขบวนเครื่องเคลือบจำลอง การขายผลิตภัณฑ์ชุมชนจากทุกๆทุกตำบลในเขตอำเภอบ้านกรวด
; งานประเพณีบุญบั้งไฟ: ประมาณสิ้นเดือน พ.ค. - ต้นเดือน มิ.ย. ของทุกปี ที่บ้านหนองบัวลี-หนองบัวลอง [[ต.ไทยสามัคคี]] [[อ.หนองหงส์]]
; งานสืบสานประเพณี ของดีโนนสุวรรณ : จัดขึ้นช่วงเดือน พ.ค. - มิ.ย. ของทุกปี ณ บริเวณที่ว่าการ [[อำเภอโนนสุวรรณ]] ซึ่งเป็นงานมีการสืบสานประเพณีบุญบั้งไฟ จัดการแข่งขบวนเซิ้งบั้งไฟ และมีการนำเสนอของดีโนนสุวรรณที่หลากหลาย อาทิ ผ้าไหม, ผลไม้ เพราะโนนสุวรรณถือว่าเป็นแหล่งผลไม้สำคัญของจังหวัด อาทิ เงาะ, ทุเรียน, ฝรั่ง ฯลฯ ทำให้ผู้มาเที่ยวงานสามารถเลือกซื้อผลไม้ และสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนได้จากผู้ผลิตโดยตรง
; งานปรางค์กู่สวนแตงและประเพณีบุญบั้งไฟ : จัดขึ้นช่วงเดือน พ.ค. ของทุกปี ณ บริเวณ [[ปรางค์กู่สวนแตง]] [[อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์]] ภายในงานมีการประกวดขบวนบั้งไฟสวยงาม, การประกวดขบวนเซิ้ง, การนำเสนอผลิตภัณฑ์ชุมชน และการแสดงแสงสีเสียง เล่าเรื่องราวปรางค์กู่สวนแตง โบราณสถานที่สำคัญของบุรีรัมย์
; ประเพณีแข่งเรือยาว: วันเสาร์-อาทิตย์แรก ของเดือน พ.ย. ที่[[ลำน้ำมูล]] ที่ที่ว่าการ [[อ.สตึก]]
; งานวันหอมแดง แข่งเรือยาว ชาวหนองหงส์: ช่วงประมาณเดือน ธ.ค. ของทุกปี - มี.ค. ของปีถัดไป ที่หนองสระแก้ว [[อ.หนองหงส์]]
 
=== กลุ่มชาติพันธุ์ ===
ประชากรในจังหวัดบุรีรัมย์ ประกอบด้วยชาว[[ไทยเขมร]], [[ไทยลาว]], [[ไทยโคราช]] และ[[ไทยส่วย]] มีภาษาพูดที่ยังใช้อยู่ในปัจจุบันสี่ภาษาด้วยกันดังนี้
 
'''กลุ่มไทยอีสาน (ลาวร้อยเอ็ด หรือลาวตะวันตก) <ref>https://pasalao.activeboard.com/t50433986/6/</ref>''' มีคนใช้อยู่ประมาณร้อยละ ๕๐50 มีใช้มากในอำเภอ [[อำเภอลำปลายมาศ]], [[อำเภอพุทไธสง]], [[อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์]], [[อำเภอนาโพธิ์]], [[อำเภอหนองหงส์]] และบางส่วนของ [[อำเภอสตึก]], [[อำเภอโนนดินแดง]], [[อำเภอโนนสุวรรณ]], [[อำเภอหนองกี่]], [[อำเภอคูเมือง]], [[อำเภอปะคำ]], [[อำเภอเมืองบุรีรัมย์]]
 
'''กลุ่มไทยเขมร'''  มีคนใช้อยู่ประมาณร้อยละ ๑๘18 [[อำเภอพลับพลาชัย]], [[อำเภอห้วยราช]], [[อำเภอประโคนชัย]], [[อำเภอกระสัง]], [[อำเภอบ้านกรวด]] และบางส่วนของ [[อำเภอเมืองบุรีรัมย์]]
 
'''กลุ่มไทยโคราช''' มีคนใช้อยู่ประมาณร้อยละ ๓๐30 ใช้มากในอำเภอ [[อำเภอนางรอง]], [[อำเภอละหานทราย]], [[อำเภอปะคำ]], [[อำเภอชำนิ]], [[อำเภอหนองกี่]] และบางส่วนของ[[อำเภอเมืองบุรีรัมย์]]
 
'''กลุ่มไทยส่วยหรือไทยกวย'''  มีคนใช้อยู่เล็กน้อยประมาณร้อยละ 2 ในพื้นที่บางส่วนของ [[อำเภอสตึก]], [[อำเภอบ้านด่าน]], [[อำเภอห้วยราช]], [[อำเภอประโคนชัย]], [[อำเภอหนองกี่]] และ[[อำเภอหนองหงส์]] <ref>http://www.thaiheritage.net/nation/oldcity/oldcity.htm</ref>
<ref>http://phanthipnoree22.blogspot.com/2017/02/blog-post.html</ref>