ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พ่อขุนผาเมือง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
{{เพิ่มอ้างอิง}} <!-- บางย่อหน้าไม่มีการอ้างอิงแหล่งที่มา --> {{infobox royalty | image = ภาพ:พ่อขุน ผาเมือง.jpg | caption = พระบรมรูปพ่อขุนผาเมืองทรงพระแสงขรรค์ชัยศรี สี่แยกพ่อขุนผาเมือง(สี่แยกหล่มสัก) บ้านน้ำชุนอำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์. | name = กมรเตงอัญผาเมือง <ref>{{cite book | author = ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย | title = กมรเตง | url = http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/word_detail.php?id=9821 | publisher =ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) | location = กร
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8487398 สร้างโดย 49.49.242.33 (พูดคุย): ลิงก์ไปเขมรทำไม คิดว่าคนอ่านจะอ่านรู้เรื่องไหม
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 6:
| succession = เจ้าเมืองราด<ref>[http://www.sukhothai.go.th/history/hist_06.htm ประวัติศาสตร์ก่อนสมัยสุโขทัย จากเว็บไซด์จังหวัดสุโขทัย]</ref>
| father = [[พ่อขุนศรีนาวนำถม]]<ref>[http://www.phitsanulok.go.th/phit_story1.htm ตำนานเมืองพิษณุโลกสมัยก่อนอาณาจักรสุโขทัย จากเว็บไซต์จังหวัดพิษณุโลก]</ref>
| spouse = [[:km:ព្រះនាងសិង្ខរមហាទេវី|พระนางสิงขรเทวี]]<br />[[พระนางเนาวรงค์เทวี]]
| dynasty = [[ราชวงศ์ศรีนาวนำถม]]
}}
[[ไฟล์:พ่อขุน.jpg|thumb|พระบรมรูปพ่อขุนผาเมืองขณะทรงออกศึก ค่ายพ่อขุนผาเมือง [[จังหวัดเพชรบูรณ์]].]]
'''พ่อขุนผาเมือง''' ({{lang-km|ឃុនផាមឿង}}{{lang-en|Pha Mueang}})เป็นบุคคลที่สำคัญที่สุดพระองค์หนึ่งที่ปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่าทรงเป็นผู้ขับไล่ขอมที่ก่อการจลาจลวุ่นวายให้ออกไปจากเมืองสุโขทัยร่วมกับพ่อขุนบางกลางหาว แต่พระองค์ไม่ทรงขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์สุโขทัยต่อจากพระราชบิดา หากแต่ทรงมอบราชสมบัติ พระนาม พระแสงขรรค์ไชยศรีเครื่องแสดงสิทธิอำนาจให้แก่พ่อขุนบางกลางหาวแทน เหตุเพราะทรงมีความใกล้ชิดกับทางราชสำนักเขมรและมี[[:km:ព្រះនាងសិង្ខរមហាទេវី|พระชายาพระราชทาน]]เป็น[[:km:ព្រះនាងសិង្ខរមហាទេវី|พระราชธิดาในกษัตริย์ขอม]] พ่อขุนผาเมืองมีขนิษฐาน้องสาวชื่อ [[นางเสือง]] พระมเหสีให้พ่อขุนบางกลางหาว หรือ[[พ่อขุนศรีอินทราทิตย์]] นั่นเอง
 
พ่อขุนผาเมืองทรงเป็นพระราชโอรสของพ่อขุนศรีนาวนำถมซึ่งเป็นกษัตริย์ปกครองเชลียงสุโขทัย ทรงอยู่ในสถานะองค์รัชทายาทแห่งราชอาณาจักร และได้เสด็จไปครองอยู่เมืองราด ซึ่งเป็นเมืองอยู่ทางด้านตะวันออกของเชลียงในลุ่มแม่น้ำน่าน คนในชั้นหลังยังปรากฏเรียก "เมืองราดเก่าหั้น" สืบมาไม่นานก่อนการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ปิดกั้นลำแม่น้ำน่าน