ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบริโภค (เศรษฐศาสตร์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ittipatboom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างขึ้นโดยการแปลหน้า "Consumption (economics)"
 
Ittipatboom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
 
[[ไฟล์:Mall_culture_jakarta89.jpg|thumb| ผู้คนซื้อ เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน ที่ [[ศูนย์การค้า|ห้างสรรพสินค้า]] ใน [[จาการ์ตา|กรุงจาการ์ตา]] [[ประเทศอินโดนีเซีย]] ]]
'''การบริโภค''' นิยามว่าเป็นการใช้จ่ายเพื่อการได้รับมาซึ่งอรรถประโยชน์ เป็นแนวคิดสำคัญทาง[[เศรษฐศาสตร์]] และได้มีการศึกษาใน[[สังคมศาสตร์]]อื่น ๆ อีกมากมาย สิ่งนี้มักจะมีมองในทางตรงกันข้ามกับ[[การลงทุน]] ซึ่งจ่ายเพื่อทำให้ได้รับรายได้ในอนาคต
 
บรรทัด 8:
 
== ฟังก์ชัน ==
<br />
 
== เศรษฐศาสตร์เชิงพฤติกรรม ฟังก์ชันการบริโภคของเคนส์ ==
ฟังก์ชั่นการบริโภคของเคนส์เป็นที่รู้จักกันในชื่อสมมติฐานรายได้สัมบูรณ์ เนื่องจากการบริโภคขึ้นอยู่กับกับรายได้ในปัจจุบันและไม่สนใจรายได้ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต (หรือขาดแคลนรายได้นั้น) ข้อวิจารณ์ของสมมติฐานนี้นำไปสู่การพัฒนาสมมติฐานรายได้ถาวรของมิลตัน ฟรีดแมนและสมมติฐานวัฏจักรชีวิตของฟรังโก โมดิจานี่
 
แนวทางเชิงทฤษฎีล่าสุดได้ใช้เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมและได้เสนอหลักการเชิงพฤติกรรมจำนวนหนึ่งที่สามารถนำมาใช้เป็นรากฐานทางเศรษฐศาสตร์จุลภาคในการสร้างฟังก์ชั่นการบริโภคมวลรวมในเชิงพฤติกรรมได้
 
== การบริโภคและการผลิตระดับครัวเรือน ==
การบริโภคมวลรวมเป็นส่วนหนึ่งของ[[อุปสงค์มวลรวม]]
<br />