ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซปักตะกร้อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dinsornobb (คุย | ส่วนร่วม)
อิงตามหลักฐานจากภาษา
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 16:
 
== ประวัติ ==
ในการค้นคว้าหลักฐานเกี่ยวกับแหล่งกำเนิดการเล่นกีฬาตะกร้อในอดีตนั้น ยังดั้งเดิมไม่สามารถหาข้อสรุปได้อย่างชัดเจนปรากฏแน่ชัดว่าตะกร้อนั้นกำเนิดเริ่มจากที่ชนชาติใด แต่สำหรับการเล่นตะกร้อมีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่องเข้ามาตามลำดับทั้งด้านรูปแบบและวัตถุดิบในเมืองไทย สันนิษฐานตามการทำเรียกของภาษาแล้วน่าจะมาจากสมัยแรกเป็นผ้าถิ่นมลายู (แถบมาเลเซีย,หนังสัตว์ อินโดนีเซีย,หวาย บรูไน,จนถึงประเภทสารสังเคราะห์ (พลาสติกฟิลิปปินส์) มีหลายประเทศเนื่องจากคำว่า "เซปัก" ในแถบเอเชียที่เล่นภาษามลายูแปลว่า "เตะ" ดังนั้นไทยเราจึงรับวัฒนธรรมกีฬาประเภทนี้คล้ายกันมาโดยเรียกว่าเซปักตะกร้อ
 
การเล่นตะกร้อมีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่องมาตามลำดับทั้งด้านรูปแบบและวัตถุดิบในการทำจากสมัยแรกเป็นผ้า, หนังสัตว์, หวาย, จนถึงประเภทสารสังเคราะห์ (พลาสติก) มีหลายประเทศในแถบเอเชียที่เล่นกีฬาประเภทนี้คล้ายกัน
 
* มีหลักฐานการเล่นตะกร้อใน[[รัฐสุลต่านมะละกา]]ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยมีการบันทึกในพงศาวดารมลายู ({{lang-ms|Sejarah Melayu}})<ref>{{cite book | last = Dunsmore | first = Susi | title = Sepak Raga | publisher = [[University of Michigan]] | year = 1983 | page = 2}}</ref>
* พม่ามีการเล่นเป็นกีฬาที่มีมายาวนาน ซึ่งเรียกว่า "[[ชีนโลน]]"
* ฟิลิปปินส์ นิยมเล่นกีฬาชนิดนี้กันมานานแล้ว โดยมีชื่อเรียกว่า "ซิปะก์" (ซึ่งเป็นสำเนียงหนึ่งของคำว่า "เซปัก")
* ประเทศจีนมีเกมกีฬาที่คล้ายตะกร้อ แต่เป็นการเตะลูกหนังปักขนไก่ ซึ่งปรากฏในภาพเขียนและพงศาวดารจีน และสันนิษฐานกันว่าเป็นกีฬาฟุตบอลในยุคแรก ๆ ด้วย
* ประเทศเกาหลีมีเกมกีฬาลักษณะคล้ายคลึงกับของจีนแต่ใช้ดินเหนียวห่อด้วยผ้าสำลีเอาหางไก่ฟ้าปัก แทนการใช้ลูกหนังปักขนไก่