ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษามลยาฬัม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
โยงไปหน้าที่มี
บรรทัด 3:
| nativename = മലയാളം
| states = [[อินเดีย]], [[มาเลเซีย]] และ [[สิงคโปร์]]
| region = [[รัฐเกราลา]], [[ลักษทวีป]], Mahé (Mayyazhii) ใน Puducherry[[ปูดูเชร์รี]], เขต [[โกทาคุ]] (Coorg) & บริเวณ[[ไมซอร์]] ของ[[รัฐการณกะ]] & [[นิลคิริ]], Coimbatore, [[โปลาชิ]], [[ติรุเนลเวลิ]], เขต[[กาญะกุมาริ]] ของ[[รัฐทมิฬนาดู]] [[มาเลเซีย]],สิงคโปร์,ตะวันออกกลาง,[[อังกฤษ]] และ [[สหรัฐอเมริกา]].
|speakers=35,757,100 คน<ref>http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=mal</ref>.<br />35,351,000 ในอินเดีย,<br />37,000<ref>http://www.ethnologue.com/show_country.asp?name=MY</ref> ในมาเลเซีย, and<br />10,000 ในสิงคโปร์
| rank = 29
บรรทัด 12:
| fam5 = [[ภาษากลุ่มทมิฬ-มลยาฬัม]]
| script = [[อักษรมลยาฬัม]] (วัตเตลุตตุ)
| nation = [[รัฐเกราลา]], และ[[ลักษทวีป]] & Puducherryและ[[ปูดูเชร์รี]]
|iso1=ml|iso2=mal|iso3=mal|notice=Indic}}
 
'''ภาษามลยาฬัม''' (มะ-ละ-ยา-ลำ) เป็นภาษาราชการของ[[รัฐเกราลา]]ทางภาคใต้ของอินเดีย มีผู้พูดประมาณ 36 ล้านคน และมีผู้พูดในเกาะ[[ลักษทวีป]]ด้วย จัดอยู่ใน[[ตระกูลภาษาตระกูลดราวิเดียนดราวิเดียน]] ใกล้เคียงกับ[[ภาษาทมิฬ]] เขียนด้วย[[อักษรมลยาฬัม]]
 
ภาษามลยาฬัมจัดอยู่ในกลุ่ม[[ดราวิเดียน]]ใต้ คาดว่ามีกำเนิดร่วมกับภาษาทมิฬเมื่อราว พ.ศ. 1400 ก่อนจะแยกออกเป็นอีกภาษาหนึ่ง พัฒนาการของภาษาในช่วงแรกได้รับอิทธิพลจากภาษาทมิฬมาก การติดต่อค้าขายกับชาว[[อาหรับ]]และเคยอยู่ภายใต้การปกครองของ[[โปรตุเกส]] ทำให้ได้รับอิทธิพลของ[[ภาษากลุ่มโรมานซ์]] [[กลุ่มภาษาเซมิติก|เซมิติก]]และ[[อินโด-อารยัน]]เข้ามา ซึ่งอิทธิพลจากภาษาภายนอกเหล่านี้จะต่างกันไปในหมู่ผู้พูดที่นับถือ[[ศาสนาคริสต์]] [[ศาสนาอิสลาม]]และ[[ศาสนาฮินดู]]
 
== พัฒนาการ ==
บรรทัด 24:
ในราวพุทธศตวรรษที่ 21 – 22 ถุนชัถถุ รมนุชัน เอซุถาชัน เขียนเอกสารฉบับแรกที่ใช้อักษรครันถะ-มลยาฬัม ซึ่งถือเป็นต้นกำเนิดของภาษามลยาฬัม และใช้ในการแปล[[รามายณะ]]และ[[มหาภารตะ]]มาเป็นภาษามลยาฬัม
 
ภาษามลยาฬัมอยู่ในกลุ่มภาษาดราวิเดียนใต้เช่นเดียวกับภาษาทมิฬ [[ภาษาโกทะทวะ]] และ[[ภาษาตุฬุ]] ส่วนใหญ่เชื่อว่าภาษาทมิฬดั้งเดิมได้แยกออกมาเป็นภาษาทมิฬและภาษามลยาฬัม ต่อมา ใชนช่วงที่รัฐเกระละเกรละมีความโดดเด่นทางสังคมและการเมือง มีการติดต่อค้าขายกับชาวอาหรับ รวมทั้งการรุกรานของโปรตุเกส ทำให้ภาษามลยาฬัมได้รับอิทธิพลจากกล่มภาษาโรมานซ์ [[กลุ่มภาษาเซมิติก]] และกลุ่มภาษาอินโด-อารยัน และทำให้ภาษาที่ใช้ในหมู่ผู้นับถือ[[ศาสนาเชน]] คริสต์ อิสลามและยูดายมีความแตกต่างกัน
 
ที.เค. กฤษณะ เมนน ได้แบ่งยุคของภาษามลยาฬัมออกเป็น 4 ยุคคือ
บรรทัด 32:
# ภาษามลยาฬัมสมัยใหม่ ตั้งแต่พ.ศ. 1968 เป็นต้นมา เป็นช่วงที่ภาษามลยาฬัมเป็นเอกเทศจากภาษาทมิฬและภาษาสันสกฤต ซึ่งแบ่งย่อยเป็นช่วงก่อนและหลังการเข้ายึดครองของอังกฤษ
 
มิชชันนารีที่เข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์ได้ริเริ่มการพิมพ์ใน[[รัฐเกรละ]] และต่อมาศาสนาคริสต์ได้นำภาษามลยาฬัมไปใช้ในทางศาสนาแทน[[ภาษาซีเรียค]] ดอกทรินา คริสตัมถูกแปลเป็นภาษามลยาฬัมและตีพิมพ์โดยชาวโปรตุเกสเมื่อ พ.ศ. 2121 ซึ่งเป็นหนังสือเล่มแรกที่ตีพิมพ์ในรัฐเกระละเกรละ การสร้างตัวพิมพ์อักษรมลยาฬัมเริ่มขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2364 หนังสือพิมพ์ภาษามลยาฬัมฉบับแรกชื่อ รัชยะ สมชรัม ตีพิมพ์โดยมิชชันนารีชาวเยอรมันเมื่อ พ.ศ. 2390
 
=== พัฒนาการของวรรณคดี ===
เอกสารที่เขียนด้วย[[อักษรมลยาฬัม]]ที่เก่าที่สุดคือจารึกวซับปัลลิอายุราว พ.ศ. 1373 วรรณคดีในยุคแรกๆแรก ๆ ของภาษานี้ได้แก่เพลงยุคคลาสสิกที่เรียกนาทัน ปาตตุ เพลงพื้นบ้านที่ใช้คำศัพท์แบบพื้นบ้าน และมนิปรวลัมที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาสันสกฤต กวีนิพพนธ์ภาษามลยาฬัมเกิดขึ้นเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 25
 
== สัทวิทยา ==
บรรทัด 42:
 
== ไวยากรณ์ ==
โครงสร้างประโยคของภาษามลยาฬัมเป็นแบบประธาน-กรรม- กริยา เช่นเดียวกับภาษากลุ่มดราวิเดียนอื่นๆดราวิเดียนอื่น ๆ<ref>{{cite web|url=http://wals.info/languoid/lect/wals_code_mym|title=Wals.info|publisher=Wals.info|accessdate=2012-02-20}}</ref> คุณศัพท์และคำแสดงความเป็นเจ้าของนำหน้าคำนาม มีการกทางไวยากรณ์ 6<ref>Asher, R. E. and Kumari, T. C. (1997). Malayalam. Routledge Pub.: London.</ref>-7<ref>http://www.jaimalayalam.com/papers/socialCaseMalayalam05.pdf</ref> การก คำกริยาเป็นไปตามกาล มาลาและเป้าหมาย แต่ไม่ผันตามบุคคล เพศ หรือจำนวน ยกเว้น รูปแบบโบราณหรือในกวีนิพนธ์
 
== ระบบการเขียน ==
บรรทัด 49:
ในอดีตที่ผ่านมามีอักษรหลายชนิดใช้เขียนภาษามลยาฬัมได้แก่ อักษรวัตเตซุถุ อักษรโกเลซุถุ และอักษรมลยาฬัม จัดอยู่ในกลุ่ม[[อักษรครันถะ]]ซึ่งเป็นรูปแบบของ[[อักษรพราหมี]]ที่แพร่หลายทางตอนใต้ และต่อมาได้พัฒนามาเป็นอักษรมลยาฬัมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
 
อักษรมลยาฬัมมี 53 ตัว แบ่งเป็นสระ 16 ตัวและพยัญชนะ 37 ตัว รูปแบบดั้งเดิมของการเขียนถูกแทนที่ด้วยรูปแบบใหม่ที่ประดิษฐ์ขึ้นใน พ.ศ. 2524 ซึ่งมีการลดรูปพยัญชนะที่เคยมีแตกต่างกันถึง 900 แบบจนน้อยกว่า 90 แบบ ทำให้สามารถพิมพ์ด้วยอมพิวเตอร์และเครื่องพิมพ์ดีดได้ ภาษามลยาฬัมเคยเขียนด้วยอักษรอื่น เช่น [[อักษรอาหรับ]] [[อักษรซีเรียค ]]<ref name=nf>[http://www.nasranifoundation.org/articles/SyriacMalayalam.html Suriyani Malayalam], Nasrani Foundation</ref><ref name=thehin>[http://www.hindu.com/2008/08/11/stories/2008081164350500.htm A sacredlanguage is vanishing from State], The Hindu</ref><ref name=indtod>[http://indiatoday.intoday.in/story/tiny-village-in-kerala-one-of-the-last-bastions-of-syriac-in-the-world/1/276352.html Prayer from the Past], India Today</ref> และ[[อักษรละติน]]แต่ไม่เป็นที่นิยม อักษรอาหรับพบที่[[มาดราสซาร์มัดดารอซะฮ์]]และ[[หมู่เกาะ[[ลักษทวีป]]<ref>{{cite book|last=Gaṅgopādhyāẏa|first=Subrata|title=Symbol, Script, and Writing: From Petrogram to Printing and Further|publisher=Sharada Pub. House|year=2004|page=158|url=http://books.google.co.in/books?}}</ref><ref>{{cite web|url=http://lakshadweep.nic.in/depts/education/profile.htm|title=Education in Lakshadweep – Discovering the past chapters}}</ref>
 
== สำเนียงและอิทธิพลจากภายนอก ==
อิทธิพลของภาษาสันสกฤตพบมากในรูปแบบมาตรฐานของภาษามลยาฬัมที่ใช้ในวรรณคดี คำยืมและอิทธิพลของ[[ภาษาฮีบรู]]และภาษาซีเรียครวมทั้ง[[ภาษาลาดิโน]]พบมากใน[[ภาษามลยาฬัมของชาวยิว]] ส่วนในชุมชนชาวคริสต์จะพบอิทธิพลของภาษาอังกฤษ ภาษาโปรตุเกส ภาษาซีเรียคและ[[ภาษากรีก]] ส่วนชุมชนของชาวมุสลิมจะพบอิทธิพลของ[[ภาษาอาหรับ]]และ[[ภาษาเปอร์เซีย]] สำเนียงของชาวมุสลิมที่รู้จักกันดีคือสำเนียงมัปปิลาที่พูดในบริเวณมาลาบาร์ของรัฐเกระละเกรละ ส่วนสำเนียงอื่นๆอื่น ๆ จะพบทางเหนือของรัฐเกระละเกรละ
 
== อ้างอิง ==