ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรธรรมล้านนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Stanglavine (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 182.53.245.14 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย ไทๆ
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
PananP (คุย | ส่วนร่วม)
ไทยเฉียง -> ลาวเฉียง
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 15:
}}
[[ไฟล์:Lanna cm2.jpg|thumb|250px|ป้ายชื่อวัดหม้อคำตวง ตำบลศรีภูมิ [[อำเภอเมืองเชียงใหม่]] [[จังหวัดเชียงใหม่]] เขียนด้วยอักษรธรรมล้านนา<br />'''ถอดเป็นอักษรไทย:''' "วัดหฺมฺ้อฅำทฺวง์"<br />'''คำอ่าน:''' "วัดหม้อคำตวง"]]
'''อักษรธรรมล้านนา''' หรือ '''ตัวเมือง''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:LN-Lanna_Alphabets.png|210px]]}} ''อักขรธัมม์ล้านนา รฤ ตัวเมือง''; {{lang-khb|ᦒᧄ}}, ธรรม, "คัมภีร์") หรือ '''อักษรยวน''' ภาษาไทยกลางในอดีตเรียกว่า '''ไทยลาวเฉียง'''<ref>[[จิตร ภูมิศักดิ์]]. ''ความเป็นมาของคำสยาม, ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:ชนนิยม. 2556, หน้า 139</ref> เป็นอักษรที่ใช้ในสามภาษา ได้แก่ [[ภาษาไทยถิ่นเหนือ]], [[ภาษาไทลื้อ]]และ[[ภาษาเขิน]] นอกเหนือจากนี้ อักษรล้านนายังใช้กับลาวธรรม (หรือลาวเก่า) และภาษาถิ่นอื่นในคัมภีร์ใบลานพุทธและสมุดบันทึก อักษรนี้ยังเรียก อักษรธรรมหรืออักษรยวน
 
ภาษาไทยถิ่นเหนือเป็นภาษาใกล้ชิดกับ[[ภาษาไทย]]และเป็นสมาชิกของตระกูลภาษาเชียงแสน มีผู้พูดเกือบ 6,000,000 คนในภาคเหนือของประเทศไทย และหลายพันคนในประเทศลาว ซึ่งมีจำนวนน้อยที่รู้อักษรล้านนา อักษรนี้ยังใช้อยู่ในพระสงฆ์อายุมาก ภาษาไทยถิ่นเหนือมีหก[[วรรณยุกต์]] ขณะที่ภาษาไทยมีห้าวรรณยุกต์ ทำให้การถอดเสียงเป็นอักษรไทยมีปัญหา มีความสนใจในอักษรล้านนาขึ้นมาอีกบ้างในหมู่คนหนุ่มสาว แต่ความยุ่งยากเพิ่มขึ้น คือ แบบภาษาพูดสมัยใหม่ ที่เรียก คำเมือง ออกเสียงต่างจากแบบเก่า<ref name=Natnapang>{{cite book