ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอย์ยาฟิยัตลาเยอคึตซ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pidsinee (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox mountain
[[ไฟล์:Eyjafjallajökull.jpeg|thumb|right|250px|เอยาฟยาตลาเยอคุตล์]]
| name = เอยาฟยาตลาเยอคุตล์
'''เอยาฟยาตลาเยอคุตล์''' ({{lang-is|Eyjafjallajökull}} {{Audio|Is-Eyjafjallajökull.oga|{{IPA|[ˈɛɪjaˌfjatlaˌjœːkʏtl̥]}}}}) เป็นชื่อเรียกของ[[ธารน้ำแข็ง]]ขนาดเล็กแห่งหนึ่งทางตอนใต้ของ[[ประเทศไอซ์แลนด์]] ธารน้ำแข็งแห่งนี้ตั้งอยู่ทิศเหนือของหมู่บ้าน[[สโกอาร์]]และทางทิศตะวันตกของธารน้ำแข็ง[[มีร์ตัลส์เยอคุตล์]]ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า
| other_name = Guðnasteinn <br/> Hámundur
| photo = Eyjafjallajokull Gigjokull in ash.jpg
| photo_caption = จิเยอคุตล์ ธารน้ำแข็งที่ใหญ่ที่สุดบนเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ภูกปกคลุมด้วยเภ้าภูเขาไฟ
| elevation = ภูเขา: {{convert|1651|m|ft|abbr=on}}<br/>
ธารน้ำแข็ง: {{convert|1666|m|ft|abbr=on}}
| elevation_ref = <ref>{{cite web|url=https://www.met.no/publikasjoner/met-report/met-report-2010/_/attachment/download/b8018feb-e0b5-4e3d-86b5-ca5f512ca864:efe249632179574e57a516af1bd5571a759c5ee9/MET-report-15-2010.pdf|p=6|title=Volcano Version of the SNAP Model|date=31 October 2010|last1=Bartnicki|last2=Haakenstad|last3=Hov|publisher=[[Norwegian Meteorological Institute]]}}</ref>
| listing =
| location = [[Southern Region (Iceland)|ซูทือร์ลันต์]], [[ประเทศไอซ์แลนด์]]
| range = N/A
| map = Iceland
| map_caption = ไอซ์แลนด์
| map_size =
| label_position =
| coordinates = {{coord|63|37|12|N|19|36|48|W|type:mountain_region:IS_scale:100000|format=dms|display=inline,title}}
| range_coordinates =
| coordinates_ref = <ref name="peakbagger">{{cite web|url=http://www.peakbagger.com/peak.aspx?pid=8834 |title=Eyjafjallajökull |publisher=Peakbagger.com |date= |accessdate=2015-11-24}}</ref>
| topo =
| type = [[กรวยภูเขาไฟสลับชั้น]]
| age =
| volcanic_arc/belt = ภูเขาไฟโซนตะวันออก
| last_eruption = March to June 2010
| first_ascent =
| easiest_route =
}}
 
'''เอยาฟยาตลาเยอคุตล์''' ({{lang-is|Eyjafjallajökull}} {{Audio|Is-Eyjafjallajökull.oga|{{IPA|[ˈɛɪjaˌfjatlaˌjœːkʏtl̥]}}}}) เป็นชื่อเรียกของ[[ธารครอบน้ำแข็ง]]ขนาดเล็กแห่งหนึ่งทางตอนใต้ของ[[ประเทศไอซ์แลนด์]] ธารครอบน้ำแข็งแห่งนี้ตั้งอยู่ทิศเหนือของหมู่บ้าน[[สโกอาร์]]และทางทิศตะวันตกของธารครอบน้ำแข็ง[[มีร์ตัลส์เยอคุตล์]]ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า
ชั้นน้ำแข็งของธารน้ำแข็งดังกล่าวได้ปกคลุม[[ภูเขาไฟ]] (สูง 1,666 เมตรหรือ 5,466 ฟุต) ซึ่งได้ปะทุค่อนข้างบ่อยนับตั้งแต่[[ยุคน้ำแข็ง]] เมื่อเวลาที่มันนำ[[หินไรโอไลต์]]ขึ้นมาสู่พื้นผิวโลก<ref>{{cite web|url=http://scienceblogs.com/eruptions/2010/03/increasing_signs_of_activity_a.php |title=Increasing signs of activity at Eyjafjallajökull in Iceland : Eruptions |doi=10.1016/j.jog.2006.09.005 |publisher=Scienceblogs.com |date= |accessdate=2010-04-17}}</ref> ในปี พ.ศ. 2553 ได้มีการปะทุขึ้นสองครั้งเมื่อวันที่ 20 มีนาคม และวันที่ 15 เมษายน ผลจากการปะทุในเดือนเมษายน ส่งผล[[การปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553|รบกวนการจราจรทางอากาศ]]ตลอดยุโรปเหนือและยุโรปตะวันตก ซึ่งนักวิทยาศาสตร์กล่าวว่ามันมีความรุนแรงกว่าการปะทุเมื่อเดือนก่อนถึง 10-20 เท่า การปะทุครั้งล่าสุดในอดีตคือจาก ค.ศ. 1821-1823 การระเบิดออกของทะเลสาบธารน้ำแข็งก่อให้เกิดอุทกภัยตามมา. แม้ว่าการประทุของเอยาฟยาลาเยอคุตล์ทำให้เกิดการชะงักครั้งยิ่งใหญ่ แต่หากเทียบกับการประทุครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไอซ์แลนด์เมื่อในอดีตนั้น การประทุครั้งนี้ถือเป็นเพียงแค่หยดน้ำเท่านั้น. <ref>[https://guidetoiceland.is/th/nature-info/the-deadliest-volcanoes-in-iceland ภูเขาไฟในประเทศไอซ์แลนด์]</ref>
 
ชั้นน้ำแข็งของธารครอบน้ำแข็งดังกล่าวได้ปกคลุม[[ภูเขาไฟ]] (สูง 1,666 เมตรหรือ 5,466 ฟุต) ซึ่งได้ปะทุค่อนข้างบ่อยนับตั้งแต่[[ยุคน้ำแข็ง]] เมื่อเวลาที่มันนำ[[หินไรโอไลต์]]ขึ้นมาสู่พื้นผิวโลก<ref>{{cite web|url=http://scienceblogs.com/eruptions/2010/03/increasing_signs_of_activity_a.php |title=Increasing signs of activity at Eyjafjallajökull in Iceland : Eruptions |doi=10.1016/j.jog.2006.09.005 |publisher=Scienceblogs.com |date= |accessdate=2010-04-17}}</ref> ในปี พ.ศ. 2553 ได้มีการปะทุขึ้นสองครั้งเมื่อวันที่ 20 มีนาคม และวันที่ 15 เมษายน ผลจากการปะทุในเดือนเมษายน ส่งผล[[การปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553|รบกวนการจราจรทางอากาศ]]ตลอดยุโรปเหนือและยุโรปตะวันตก ซึ่งนักวิทยาศาสตร์กล่าวว่ามันมีความรุนแรงกว่าการปะทุเมื่อเดือนก่อนถึง 10-20 เท่า การปะทุครั้งล่าสุดในอดีตคือจาก ค.ศ. 1821-1823 การระเบิดออกของทะเลสาบธารน้ำแข็งก่อให้เกิดอุทกภัยตามมา. แม้ว่าการประทุของเอยาฟยาลาเยอคุตล์ทำให้เกิดการชะงักครั้งยิ่งใหญ่ แต่หากเทียบกับการประทุครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไอซ์แลนด์เมื่อในอดีตนั้น การประทุครั้งนี้ถือเป็นเพียงแค่หยดน้ำเท่านั้น. <ref>[https://guidetoiceland.is/th/nature-info/the-deadliest-volcanoes-in-iceland ภูเขาไฟในประเทศไอซ์แลนด์]</ref>
 
== การปะทุในปี พ.ศ. 2553 ==
{{บทความหลัก|การปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553|การปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553}}
 
[[ไฟล์:Fimmvordauhals volcano eruption 2010 03 27.jpg|thumb|right|250px|ชาวบ้านท้องถิ่นและนักท่องเที่ยวสังเกตการณ์ภูเขาไฟก่อนหน้าการปะทุ]]
ปลายปี พ.ศ. 2552 กิจกรรม[[แผ่นดินไหว]]ได้เกิดขึ้นรอบพื้นที่ภูเขาไฟเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ โดยมีแผ่นดินไหวขนาดย่อมหลายพันครั้ง (ส่วนใหญ่มีความรุนแรง 1-2 โมเมนต์-แมกนิจูด ลึกลงไป 7-10 กิโลเมตรใต้ภูเขาไฟ) <ref>Veðurstofa Íslands (5 March 2010) {{cite web | title=Jarðskjálftahrina undir Eyjafjallajökli | work=Veðurstofa Ísland (The Meteorological Institute of Iceland)|url=http://www.vedur.is/um-vi/frettir/2010/nr/1831}}</ref> เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ชุดอุปกรณ์[[ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก]] (GPS) ซึ่งสถาบันอุตุนิยมวิทยาแห่งไอซ์แลนด์ใช้ที่ทุ่งทอร์วัลต์เซรีในแถบเอยาฟเยิตล์ (ห่างออกไปทางตะวันออกเฉียงใต้ราว 15 กิโลเมตรจากจุดที่มีการปะทุของภูเขาไฟครั้งล่าสุด<ref name=Fasteignaskra>Measurements made by using maps and measurement tools from Fasteignaskrá Íslandskort {{cite web |title=Fasteignaskrá measurement tools| url=http://www.fasteignaskra.is/pages/943}}</ref>) ได้แสดงให้เห็นว่า เปลือกท้องถิ่นได้เคลื่อนไปทางทิศใต้ 3 เซนติเมตร โดยการเคลื่อน 1 เซนติเมตร ใช้เวลาภายใน 4 วัน ความผิดปกติของกิจกรรมแผ่นดินไหวครั้งนี้ประกอบกับการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วของแผ่นเปลือกโลกในพื้นที่ได้ให้หลักฐานแก่นักธรณีฟิสิกส์ว่า หินหนืด (magma) จากใต้แผ่นเปลือกโลกกำลังไหลเข้าสู่กะเปาะหินหนืด (magma chamber) ใต้ภูเขาไฟเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ กิจกรรมแผ่นดินไหวดังกล่าวยังได้เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และนับตั้งแต่วันที่ 3-5 มีนาคม ได้เกิดแผ่นดินไหวเกือบ 3,000 ครั้งซึ่งตรวจวัดได้ที่จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวในภูเขาไฟ
 
เส้น 16 ⟶ 41:
 
ไม่เหมือนกับการปะทุครั้งก่อนหน้า การปะทุครั้งที่สองเกิดขึ้นที่ใต้น้ำแข็งของธารน้ำแข็ง น้ำเย็นซึ่งเกิดจากการละลายของน้ำแข็งได้ทำให้ลาวาเย็นลงอย่างรวดเร็วและทำให้ลาวาที่แข็งตัวนั้นแตกกลายเป็นแก้ว ทำให้เกิดอนุภาคแก้วขนาดเล็กซึ่งถูกนำพาไปในพวยเถ้าถ่าน ซึ่งเหตุการณ์ครั้งนั้น ก็ทำให้สายการบินที่ออกจากยุโรปและเข้ามายุโรปต้องปิดลงหลายวัน ประกอบกับขนาดของการปะทุ ซึ่งคาดกันว่ามีขนาดเป็น 10-20 เท่า ของการปะทุที่ฟิมม์เวอร์ดูเฮาลส์เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ส่งผลให้เกิดพวยเถ้าถ่านซึ่งมีแก้วเจือปนในปริมาณสูงตกค้างในชั้นบรรยากาศระดับสูง ซึ่งเป็นอันตรายต่ออากาศยาน<ref name="Guardian_ash_halts_flights">{{cite web|url=http://www.guardian.co.uk/world/feedarticle/9032564 |title=Iceland's volcanic ash halts flights across Europe &#124; World news &#124; guardian.co.uk |publisher=Guardian |date=2008-01-23 |accessdate=2010-04-18}}</ref>
 
== สมุดภาพ ==
<gallery>
[[ไฟล์:Eyjafjallajökull.jpeg|thumb|right|250px|เอยาฟยาตลาเยอคุตล์]]
[[ไฟล์:Fimmvordauhals volcano eruption 2010 03 27.jpg|thumb|right|250px|ชาวบ้านท้องถิ่นและนักท่องเที่ยวสังเกตการณ์ภูเขาไฟก่อนหน้าการปะทุ]]
</gallery>
 
== อ้างอิง ==