ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลักการของเฮยเคินส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
วง
ย้อนการแก้ไขของ 118.172.205.106 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Potapt
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Wellen-Brechung.png|thumb|250px|การสะท้อนของคลื่นตามหลักของไฮเกนส์]]
 
'''หลักการของไฮเกนส์'''<ref>ชื่อหลักการ มักนิยมออกเสียงตาม[[ภาษาอังกฤษ]]ว่า ไฮเกนส์ ซึ่งต่างจากการออกเสียงใน[[ภาษาดัตช์]] ที่อ่านว่า เฮยเคินส์</ref> (ตามชื่อของ[[นักฟิสิกส์]]ชาวดัตช์ [[คริสตียาน เฮยเคินส์]]) เป็นวิธีการวิเคราะห์ปัญหาหน้าคลื่นของการแผ่ของ[[คลื่น]] หลักการนี้ได้กล่าวว่า ที่แต่ละจุดของหน้าคลื่นที่กำลังเคลื่อนตัว จะกระทำตัวเสมือนเป็นจุดศูนย์กลางกำเนิดคลื่นใหม่ และหน้าคลื่นที่เคลื่อนตัวออกไปจะเสมือนกับเป็นผลรวมของคลื่นย่อย ซึ่งกำเนิดขึ้นจากจุดที่หน้าคลื่นเดิมได้วิ่งผ่าน มุมมองนี้มีส่วนช่วยให้สามารถทำความเข้าใจถึงปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของคลื่น เช่น [[การกระเจิง]]ของคลื่น
== ไฮเกน คือเกย์ในอีกรูปแบบนึง ==
 
ตัวอย่างเช่น ถ้าห้องสองห้องนั้นเชื่อมต่อด้วยทางเดิน และมีการกำเนิด[[เสียง]]ที่มุมหนึ่งของห้องหนึ่ง ผู้ที่อยู่ในอีกห้องหนึ่งจะสามารถได้ยินเสียงนี้ ราวกับว่าเสียงนี้มีจุดกำเนิดอยู่ที่ทางเดิน ซึ่งในความเป็นจริงการสั่นไหวของอากาศที่ทางเดินนี้เป็นแหล่งกำเนิดเสียงนี้นั่นเอง ในทำนองเดียวกันกับ[[แสง]]วิ่งผ่านมุมของสิ่งกีดขวาง แต่ปรากฏการณ์นี้ยากที่จะสังเกตได้เนื่องมาจากแสงนั้นมีความยาวคลื่นที่สั้น
 
ปรากฏการณ์[[การแทรกสอด]]ของแสง จากหน้าคลื่นของแสงจากจุดกำเนิดที่อยู่ห่างกัน ทำให้เกิดเป็นรูปแบบแถบสว่าง-มืดของการกระเจิง ดูตัวอย่างได้จาก[[การทดลองช่องคู่]] (double-slit experiment)
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{โครงฟิสิกส์}}