ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสักยันต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chnndkec (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Chnndkec (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
 
แม้ว่าการสักยันต์ในประเทศไทยจะมีมาแต่โบราณ แต่ไม่มีหลักฐานยืนยันชัดเจนนัก จะมีก็แต่หลักฐานที่ปรากฏใน[[วรรณคดี]]เรื่อง "[[ขุนช้างขุนแผน]]" และ[[วรรณกรรม]]อื่น ๆ โดยเชื่อมโยงกับความเชื่อทางไสยศาสตร์ ทำให้แคล้วคลาดต่ออันตรายต่าง ๆ เป็นทางหนึ่งที่ช่วยให้จิตใจมีความมั่นคง ซึ่งการสักยันต์เพื่อหวังผลทางไสยศาสตร์จะแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ เพื่อผลทางเมตตามหานิยม และคงกระพันชาตรี<ref name="ประวัติ"/>
 
การสักยันต์แบบไทยนั้นโด่งดังไปทั่วทุกมุมโลก เป็นการสักที่ใช้เข็มเดี่ยวและไม้ไผ่ในการสักแทนเครื่องสักสมัยใหม่ ซึ่งโดยส่วนใหญ่พระภิกษุจะเป็นผู้สัก การสักยันต์ไม่ใช่การสักตามแฟชั่นหากแต่เป็นการสักเพราะความเชื่อที่ว่ารอยสักนั้นสามารถปกป้องตนจากสิ่งไม่ดีได้ โดยรอยสักยันต์ประกอบไปด้วยข้อความ ภาพ และเครื่องหมายต่างๆ ซึ่งมีความหมายและจุดประสงค์ในการปกป้องผู้ที่ครอบครองรอยสักนั้น ยิ่งตำแหน่งของรอยสักอยู่สูงเท่าไหร่ พลังการปกป้องก็จะยิ่งสูงเท่านั้น<ref>https://www.bangkokhaps.com/guide/times-are-changing-getting-inked-in-thailand</ref>
 
== อ้างอิง ==