ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คาร์บูเรเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
== หลักการทำงาน ==
ความสำคัญของคาร์บูเรเตอร์ในการทำงานของเครื่องยนต์คือการผสมน้ำมันกับอากาศหลังจากนั้นจึงส่งเข้าสู่ห้องเผาไหม้อย่างเหมาะสม ทำให้เครื่องยนต์เดินเรียบทั้งในรอบเดินเบาและการเร่ง ลดการเกิดมลภาวะ ควบคุมความเร็วของเครื่องยนต์ โดยผสมน้ำมันกับอากาศให้กลายเป็นไอดี และส่งเข้าสู่ห้องเผาไหม้ได้อย่างเหมาะสม เมื่อเครื่องยนต์อยู่ในระยะเดินเบาหรือความเร็วรอบของเครื่องยนต์ต่ำ ลิ้นปีกผีเสื้อในคาร์บูเรเตอร์จะเปิดน้อย ส่งผลให้ปริมาณน้ำมัน และอากาศที่ถูกส่งเข้าไปในห้องเผาไหม้น้อยลง ทำให้เครื่องยนต์เดินรอบต่ำ ในทางตรงข้ามหากต้องการให้เครื่องยนต์มีรอบความเร็วของเครื่องยนต์สูงขึ้น ลิ้นปีกผีเสื้อจะเปิดมากขึ้นหรือเต็มอัตรา ปริมาณไอดีก็จะเข้าในห้องเผาไหม้ในปริมาณที่มากตามไปด้วย ภายในของคาร์บูฯมีช่องคล้ายคอขวดเรียกว่าช่องเวนจูรี่ ส่วนนี้จะทำให้เกิดปฏิกิริยาเวนจูรี่ ความเร็วของไอดีจะมีมากขึ้นซึ่งเป็นผลมาจากเส้นผ่า ศูนย์กลางของท่อมีขนาดเล็กลง การเพิ่มความเร็วของการเคลื่อนที่ส่งผลให้ความดันที่บริเวณคอขวดลดลง ทำให้เกิดภาวะความดันต่ำกว่าความดันบรรยากาศ นอกจากนั้นคอขวดจะมีท่อน้ำมันขนาดเล็ก น้ำมันเชื้อเพลิงจะถูกดูดเข้ามาผสมกับอากาศ และวิ่งต่อไปสู่ห้องเผาไหม้<ref name=tpa/>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
[[หมวดหมู่:ยานพาหนะ]]
[[หมวดหมู่:เทคโนโลยี]]
[[หมวดหมู่:เครื่องยนต์]]
[[หมวดหมู่:เครื่องยนต์สันดาปภายใน]]
[[หมวดหมู่:เครื่องกล]]